วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

กรณีศึกษาเปรียบเทียบด้านการท่องเที่ยว

เนื้อหาในคู่มือการประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ได้แบ่งประเภทของแหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.แหล่งความเป็นอยู่และวิถีชีวิต 2. แหล่งวัฒนธรรม ประเพณี และหัตถกรรมพื้นเมือง ซึ่งคู่มือประเมินที่กล่าวมาข้างต้นได้แบ่งองค์ประกอบเป็น 3. องค์ประ กอบคือ 1. ค์กยภาพในการคืงดูดใจด้านการท่องเที่ยว 2. ค์กยภาพในการรองรับด้านการท่องเที่ยว และ 3. การบริหารจัดการ

นอกจากคู่มือการประเมินมาตรฐานดังกล่าว ยังได้ด้นพบเกณฑ์การประเมินมาตรฐานและ

การเรียนรูทางวัฒนธรรม (กระทรวงวัฒนธรรม : 2551) ด้วยจุดมุ่งหมายที่จะปลูกฝังให้คนไทยมืดวามรู้ ความเข้าใจ เคารพ และยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมของคนกลุ่มต่างๆ ที่อาดัยอยู่ ในเมืองไทย อย่างปราศจากความขัดแย้งตลอดจนมืความรักและความภูมิใจในวิถีชีวิต ภูมิปัญญา

และอัตลักษณ์วัฒนธรรมไทยที่จะอนุรักษ์ ลบสาน และพัฒนาวัฒนธรรมที่เป็นของซนทุกกลุ่มที่อาลัยอยู่ ในลังคมไทยให้ยั่งยืน สามารถดำรงชีวิตร่วมกันได้อย่างลันติสุข

กรณีศึกษาเปรียบเทียบด้านการท่องเที่ยว

การคืกษาเปรียบเทียบ แนวทางการพัฒนาของชุมชนย่านเก่าเพึ่อการท่องเที่ยวในปัจจุบัน
ตามปรากฏการณ์โหยหาอดีตพี่อทําการเปรียบเทียบการจัดการพัฒนาแหล่งท่องเทียวที่มีมาแต่ดงเดิม
และกำลังพัฒนากันอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งมืผู้ทำการคืกษาถีงผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อสภาพเศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม ในพื้นที่ต่างๆ เพื้อจะมาเปรียบเทียบแนวทางการจัดการท่องเที่ยว ตลอดจนเกณฑ์

ประเมินมาตรฐานต่างๆ ว่าควรจะมืการปรับปรุงแก้ไขในด้านใด เพี่อที่จะสามารถลดผลกระทบด้านลบ
จากการท่องเที่ยว โดยจะยกกรณีคืกษาเปรียบเทียบ 2 แห่ง คือ ตลาดนํ้าดำเนินสะดวก จ.ราซบุรี และ
ชุมซนอัมพวา จ.สมุทรสงคราม

ตลาดนื้าดำเนินสะดวก จ.ราซบุรี เป็นกรณีคืกษาเปรียบเทียบที่สามารถคืกษาผลกระทบ'ใน ด้านบวกและด้านลบจากการพัฒนาการท่องเที่ยวต่อวัฒนธรรมและชุมซนท้องถนที่ปรากฏซัดเจนใน

ปัจจุบัน เพราะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ผ่านการใช้ประโยซน์ และมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา ยาวนานพอสมควร จึงทำให้สามารถสะท้อนผลกระทบจากการพัฒนาในด้านต่างๆ ออกมาได้ค่อนข้าง ซัดเจน บทความเรื่อง ตลาดนํ้าดำเนินสะดวกกับการเปลยนแปลง โดย ธิดา สาระยา (2532) ได้สะท้อน ถีงภาพการเปลี่ยนแปลงของชุมซนหนึ่ง ที่ปรับตัวเพี่อรับกับการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว แสดง ให้เห็นการนำเข้าอุตสาหกรรมหลากซนิดโดยเฉพาะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ถีงแม้ในทางหนึ่งจะนำรายได้ และอาชีพใหม่สู่ประซาคมดำเนินสะดวก แต่ขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับพื้นฐานการ ดำรงชีวิต ซึ่งเห็นได้จากพัฒนาการในยุคหลังของชุมซนตลาดนื้า ปรากภูหลักฐานว่า ตลาดนื้าดำเนิน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น