วันพุธที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557

ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองเนื่องจากไม่มีวีซ่า

ปัจจุบันปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองเนื่องจากไม่มีวีซ่าพม่าได้เป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่ง ชอง ประเทศไทยจำนวนผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็นลำดับ การหลบหนีเข้ามาของชนกลุ่มน้อยบริเวณแนวชายแดนไทย    ที,มีเขตรอยต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน        ซึ่งมีการสู้รบกับชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดการหลบหนีเข้ามาใน
ประเทศไทยอย่างต่อเนื่องทางราชการได้ดำเนินการกวดขันจับกุมดำเนินคดีมาตลอด แต่ ก็ไม่มี แนวโน้มว่าผู้หลบหนีเข้าเมืองไม่มีวีซ่าจะลดน้อยลง การดำเนินการในปัจจุบันนอก จากการลงโทษผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามพระราชบัญญัติ คนเข้า เมือง พ.ศ.2522 แล้วทางราชการยังได้กำหนดนโยบาย และมาตรการปฏิบัติต่อผู้หลบ หนีเข้าเมือง เป็นการเฉพาะตามสภาพปีญหา และความรุนแรงที่เกิดขึ้น ตลอดจนมาตร- การสกัดกั้นและผลักดันต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองดังกล่าว ( จำนง เฉลิมฉัตร 2536, 1 )
ปัจจุบันสภาพผู้หลบหนีเข้าเมืองในประเทศที่สำคัญแยกออกได้ดังนี้
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองจากอินโดจีน ได้แล่ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวลาว ผู้ หลบหนีเข้าเมืองชาวเวียดนาม และผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวกับพูชาโดยไม่มีวีซ่า
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวเนปาล
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวพม่า
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวจีน

จากสถานการณ์ดังกล่าว ประเทศพม่าซึ่งมีพรมแดนติดกับประเทศไทย เป็นระยะทางยาวที่สุด    เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านด้านอื่นของประเทศไทย

( พ.อ.ประสงค์ ชิงชัย 2539, 2 )โดยมีความยาวถึง 2,401 กิโลเมตร โดยอาศัยแม่น้ำเป็น
เส้นเขตแดนประมาณ 714 กิโลเมตร สันเขาและสันปันนํ้า 1,624 กิโลเมตรและ ที่ใช้ เส้นตรงเป็นเขตแคนอีก 63 กิโลเมตร ซึ่งสภาพภูมิประเทศจากจังหวัดเชียงราย จนถึง จังหวัดระนองมีระยะทางยาวมากมีช่องทาง เช้า-ออกตลอดจนพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าเขา ทุรกันดารห่างไกลเส้นทางคมนาคม การตรวจตราของเจ้าหน้าที่ทำไค้จำกัด ประกอบ กับกำลังเจ้าหน้าที่มีอยู่น้อย จึงเป็นการง่ายที่ราษฎรชาวพม่าและ ชนกลุ่มน้อยจะลัก ลอบหลบหนีเข้าเมืองมาอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนมากและลักลอบรับจ้างใช้ แรงงาน หรือแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจมากที่สุด ตลอดจนการรวมกลุ่มเป็นแก๊งค์ หรือกลุ่มอิทธิพลต่าง ๆ อันเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดปัญหาอาชญากรรมปัญหา โสเภณียาเสพติด และอาชญากรรมข้ามชาติระหว่างกลุ่มชนในเชื้อชาติเคียวกัน ซึ่งก่อ ให้เกิดผลกระทบต่อประเทศไทยในค้านต่าง ๆ ซึ่งจะไค้ทำการศึกษาโดยละเอียดต่อไป

สหภาพพม่า (of Myanmar) มีส่วนเกี่ยวพันกับประเทศไทยมายาว นาน ประเทศไทยไค้เคยเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2112 และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 ในช่วงปี พ.ศ.2366 อังกฤษไค้แผ่อิทธิพลเช้ามา ทางอินเดีย และมาลายู รวมทั้งยึด พม่าเป็นอาณานิคมขณะอังกฤษเช้ายึดเมืองต่างๆ นั้น ก็จะทำแผนที่ตามไปด้วยจนทำให้บรรจบเขตแดนของประเทศไทย จึงไค้มีการ กำหนดจุดแนวเขตแดน ( Boundary pillars) เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2411 (ค.ศ.!468) ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2491 หลังจากพม่าไค้รับเอกราชจากอังกฤษ รัฐบาลพม่าไค้ รวมรัฐชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสหภาพพม่า โดยมีสัญญาทำกันที่เมืองปาง หลวง ( เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2490 ) ระบุว่าพม่าและรัฐอิสระต่าง ๆ จะรวมกัน เป็นสหภาพพม่า 10 ปี หลังจากนั้นก็จะให้สิทธิแก่รัฐอิสระต่าง ๆ แยกตัวออกจาก สหภาพพม่าไค้ แต่รัฐบาลพม่าก็ไม่ไค้ดำเนินการตามข้อตกลง แต่ไค้พยายามกลืนชาติ ชนกลุ่มน้อยต่างๆ ให้อยู่ภายใต้อำนาจปกครองของพม่า ยกระดับชาติพม่าแท้ให้มีสิทธิ ต่าง ๆ มากกว่าชนชาติอื่น ๆ ใช้การปกครองแบบเผด็จการกึ่งสังคมนิยม จำกัดสิทธิ ชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดความไม่พอใจเพิ่มมากขึ้น จนไม่สามารถยอมรับการปกครอง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น