วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

การจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

การจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม คือ การท่องเที่ยวเพี่อการเรียนรู้ผู้อึ่น และย้อนกลับมามอง ตนเองอย่างเข้าใจความเกี่ยวพันของสรรพลงในโลกที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ และลงสำคัญประการแรกของการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม คือ การคืกษา (ชาญวิทย์ เกษตรคัริ 2540) สอดคล้องกับ พิลิฐ เจริญวงต์ (2536) ที่ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมไว้ว่า ความแตกต่าง เป็นคุณ สมบัติ หรือข้อเด่นอย่างหนึ่งของการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และให้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมีอของการ คืกษา ไม'ใช่การคืกษาเป็นเครื่องมีอของการท่องเที่ยว ซนัญ วงษ็วภาค (2552 : 15) ได้ประมวลนัยของ การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมว่า การท่องเที่ยววัฒนธรรมเป็นการท่องเที่ยวอย่างมีสำนึกต่อสงแวดล้อม

และวัฒนธรรม การท่องเที่ยววัฒนธรรมจะสร้างเสริมภูมิบัณณา และปลกฝังให้ตระหนักถึงความสำคัณ
ของมรดก1วัฒนธรรมของชาติ ชงเป็นแนวทางการท่องเทียวทีจะสร้^งสรรค์ลังคมให้เข้มแข็ง บนพันฐาน
ของความพอ เพียงที่จะล่งผลให้เกิดความยั่งยืนใ‘นภายภาคหน้า

ความหมายของการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ในวิกิพัเคืย (Wikipedia 2010) คือ รูปแบบย่อย ของการท่อง เที่ยวที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมของประเทศหรือภูมิภาค โดยเจาะจงวิถีชีวิตของผู้ตนใน ภูมิภาคเหล่านั้น ประวัติศาสตร์งานคัลปะ สถาปัตยกรรม ศาสนา และส่วนประกอบซึ่นที่ช่วยสร้างสรรค์ วิถีการดำเนินชีวิตของพวกเขา การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมรวมไปถึงการท่องเที่ยวในเมีองที่มีความเป็น มาทางประวัติ ศาสตร์ หรือเมีองใหญ่ และความน่าสนใจทางวัฒนธรรมของพวกเขาได้แก่ พิพิธภัณฑ์ และโรงละคร นอกจากนั้น การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมยังรวมถึงการท่องเที่ยวในชนบท ที่แสดงถึง ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถน วัฒนธรรมชุมซน เช่น เทศกาล พิธีกรรม และคุณด่าของวิถีชีวิตของพวกเขา เป็นที่ยอมรับกันอย่างทั่วไปว่า นักท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเน้นที่เนั้อหาสาระมากกว่านักท่องเที่ยวโดย

ทั่วไป และรูปแบบการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมนั้กำลังกลายเป็นที่นิยมทั่วโลก เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ มีบทบาทในการช่วยพัฒนาภูมิภาคต่างๆ ในโลก

เนึ่อพิจารณาถึงความหมายคำจำกัดความของการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ซึ่งมีล่วนที่สอด คล้องกับความหมายของ วัฒนธรรม ของ สายันต์ ไพรชาญจิตร์ (2552) ที่กล่าวว่า วัฒนธรรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น