วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

เเนวคิดการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3

การมองการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจากแง'มุมของขบวนการทางลังคม ทำให้เราจำต้องให้ความสำคัญ กับการจัดการองค์กรลังคมทั้งในระดับชุมซนและระดับเครอข่าย เพี่อทำการบริหารจัดการรายการท่อง

เทึ่ยว การสร้างกระบวนการเรียนรู้ทางลังคม การจัดการทรัพยากร และการสร้างอำนาจต่อรองกับภาย นอกอย่างเป็นระบบ

แนวคิดประการที่ห้า คือ การมองการท่องเทียวทางวัฒนธรรมในบริบทของการพ้ฒนา ชนบทและอนุรักษ์ฟื้นฟูทวัฒนธรรมอย่างยงยีน ในข้อนี้ การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเป็น กระบวนการแสวงหาทางเสือกเพี่อกำหนดทิศทางการพัฒนาของตนเอง บนพื้นฐานของวัฒนธรรมและ จารีตประเพณีอันหลากหลายของชุมซน และยังเป็นความพยายามในการอนุรักษ์พีนฟูทรัพยากรวัฒน

ธรรมไปพร้อมกัน ในสภาวะพี่ชุมซนซนบทมากมายหลายแห่งทั่วประเทศเผชิญกับปัญหาวิกฤตในต้าน การขยายตัวของลังคม ความเจริญพี่เข้าไปเบียดบังวิถีของซนบท และยังส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมของ ชุมซนเหล่านั้น การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจึงน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของคำตอบในการแก้ปัญหาอันพึงได้

รับการส่งเสริมสนับสนุนเป็นอย่างยง การมองการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในบริบทของการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน ยังเป็นแนวคิดพี่ให้ความสำคัญกับการนำเอารายไต้จากการท่องเที่ยว มาใช้ในโครงการพัฒนา ชุมซนด้วยตัวเองในรูปแบบต่างๆ ทั้งในด้านของการสร้างกองทุนชุมซน3 การูพัฒนาอาชีพและผี!มอแรง งานในกเรปร^ดิษฐ์หตถกรรมพื้นบ้าน^และการพลิกพึนกระบวนค!ารูเรียนรู้ของชุมซนในต้านของการจัด การทรัพยากรวัฒนธรรม การอนุรักษ์และเซึ่อมต่อภูมิปัญญาท้องกนกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เป็นต้น

ภายใต้กรอบแนวคิดพี่แสดงมาข้างต้น ยังมีทฤษฎีพี่ซ่วยลนับสนุนกรอบแนวคิดดังกล่าว เพี่อ แสดงว่าแนวทางการพัฒนานั้นเป็นแนวทางพี่ถูกต้อง และเป็นพี่ต้องการของลังคมไทยในปัจจุบัน นั่นคือ ทฤษฎีการพัฒนาวัฒนธรรมชุมซนพี่มีในแนวพระราซดำริเศรษฐกิจพอเพียง นพลักษณ์ของเศรษฐกิจพอ เพียง พี่มีอยู่ 9 ประการ (ชัยอนันต์สมุทรวณิซ 2541 และสายันต์ไพรซาญจิตร์ 2542) ได้แก่

1. หลากหลาย เป็นแนวคิดพี่พ้นจากเพดานความคิดแบบตะวันตกซึ่งเคยมีอิทธิพลต่อทฤษฎี และวิธีปฏิบัติทางการพัฒนามาเป็นเวลานาน คือ ลักษณะของความคิดเอกนิยม และทวินิยม แต่ฐานคิด ทางการพัฒนา ในแนวทางการพัฒนาในแนวพระราซดำริเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพหุนิยม พี่ทั้งยอมรับและ ให้ความสำคัญ กับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม และธรรมซาติพี่มีอยู่

2. ร่วมนำยอมรับและส่งเสริมการดำรงอยู่ร่วมกันของสรรพสิ่งพี่แตกต่างกัน เน้นปรัชญาของ การพึ่งพิงอิงกัน มีจริยธรรมของความสามัคคีเมตตาต่อกัน เป็นการร่วมมีอกันอย่างลันติของลงพี่ขัดแย้ง แตกต่างกัน สามารถแบ่งบันกันไต้ ร่วมกันพึ่งพิงกันอย่างมีดุลยภาพ ไม่ครอบงำ เพี่มพลานุภาพให้กัน และกัน การเคลึ่อนไหวเปลี่ยนแปลงเป็นไปได้ร่วมกัน โดยไม่ต้องหักล้างกันก็สามารถเคลี่อนไปไต้ โดยพี่ แต่ละภาคส่วนไม่ต้องสลายตัวอย่างสิ้นเชิง แต่สามารถคงรูปดำรงอยู่ได้ในระดับหนึ่งอย่างเสมอหน้ากัน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น