สถานะเช่นเดียวกันกับผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่า คือในระหว่างที่ยังไม่สามารถผลักดันออก ไปได้ ทางราชการไค้มีมาตรการควบคุมบุคคลเหล่านี้คือ
1.มีการกำหนดเขตที่อยู่ให้อยู่เฉพาะในเขตจังหวัดชายแดนค้านพม่า
2.มีการจัดทำบัญชีรายชื่อบุคคลในบ้าน
ทะเบียนประวัติ และบัตร
ประจำตัว
3.มีการจัดทำหลักฐานการเกิด
การตาย
4.มีการกำหนดโทษผู้หลบหนีออกจากเขตที่อยู่
5.มีการอนุญาตให้ประกอบอาชีพไค้เพียง 27 ประเภท
ตามพระ ราชบัญญัติการทำงานของคนต่างค้าว พ.ศ.2521
6.บุตรที่เกิดในราชอาณาจักรไทยไม่ไค้สัญชาติไทย
ต่อมารัฐบาลไค้พิจารณาให้ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยที่ไม่มีวีซ่า ได้รับการพิจารณาให้สัญชาติไทยเมื่อ
29 กันยายน พ.ศ.2532 ซึ๋งกระทรวงมหาดไทยไค้ดำเนิน
การแปลงสัญชาติผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยของจังหวัดระนองและตากให้ไค้
สัญชาติไทยแล้ว บีจจุบันมี 813 คนในปี พ.ศ. 2537 - 2538
การปราบปรามผู้ทำผิดสัญชาติพม่าตามพระราช บัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522
และกฎหมายอื่น ๆ ของประเทศไทย พบว่าสถิติไค้สูงชื้น ดังนี้ (
สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง 2538,120-107 )
ตารางที 1 สถิติการจับกุมผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่าโดยไม่มีวีซ่าในปี
พ.ศ.2537-2538
ปี
|
การกระทำผิดตาม พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522
|
กระทำผิดตาม กม.อื่นๆ
|
|||||
พ.ศ.
|
หลบหนี
|
เกินกำหนด
|
การให้
|
ประกอบ
|
อื่นๆ
|
ปลอมและใช้
|
อื่น ๆ
|
เข้าเมือง
|
อนุญาต
|
ที่พัก
|
อาชีพ
|
เอกสารปลอม
|
|||
2537
|
5,040
|
น
|
3
|
46
|
3
|
46
|
5
|
2538
|
15,051
|
16
|
16
|
126
|
185
|
66
|
48
|
th → en
with
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น