ถึงแม้ว่าสภาพัฒนาและสันติภาพแห่งรัฐจะจัดให้มีการลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ ในวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ.2008 แต่การดำเนินยุทธศาสตร์ของรัฐบาลทหาร กลับพบกับ อุปสรรคครังยิ่งใหญ่ เมื่อพายุไชโคลนนาร์กีสเคลื่อนตัวเข้าถล่มชายป่งประเทศพม่าเมื่อช่วงด้น เดือนพฤษภาคม จนทำให้นครย่างกุ้ง และหัวเมืองต่างๆในเขตสามเหลี่ยมปากแม่นำอิระวดี ต้องราพณาสูรไปในพริบตา และมีผู้เสียชีวิตประมาณหนึ่งแสนราย ความเสียหายจากภัยพิบัติ ทางธรรมชาตินอกจากจะเป็นการปรากฎตัวของลางร้ายและสิ่งอวมงคลที่เข้ากุกคามประ(ทศ ตามหลักโหราศาสตร์พม่าแล้ว ยังส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อการลงประชามติและการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองของพม่า โดยถึงแม้จะมีผู้ประสบเคราะห์กรรมและไร้ที่อยู่อาศัยเป็น จำนวนมาก แต่รัฐบาลทหารก็ยังคงเดินหน้าจัดให้มีการลงประชามติต่อไปในวันที่ 10 พฤษภาคม ส่วนพื้นที่ซึ่งได้รับความเสียหาย รัฐบาลได้เลื่อนการลงประชามติออกไปเป็นวันที่ 24 พฤษภาคม จากพฤติกรรมของรัฐบาลทหารในครั้งนี้ ย่อมเป็นที่ประจักษ์แน่ว่า รัฐบาลพม่า เป็นห่วงความอยู่รอดของกองทัพมากกว่าประชาชน ประกอบกับ ตามทรรศนะส่วนตัวของ ผู้เขียน การเมืองพม่าหลังการลงประชามติและการปรากฏตัวของพายุไซโคลนนาร์กีส จะมี
ลักษณะผันผวนที่เรียกว่า “สองนคราบนทางแพร่ง” (Two Centers on the Tale of Conflicts) สืบเนื่องจากพืนที่ทางการเมืองของพม่านับจากนีต่อไปจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน โดยส่วน แรกจะประกอบด้วยอาณาบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติและมีศูนย์อำนาจ อยู่ที่มหานครย่างกุ้ง อดีตเมืองหลวงเก่า พืนที่ดังกล่าวถือเป็นแหล่งเคลื่อนไหวของกลุ่ม เครือข่ายประชาธิปไตยเพื่อรณรงค์ให้ชาวพม่าออกมาต่อด้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด รวมถึง กลุ่มพระสงฆ์ซึ่งถูกปราบปรามโดยรัฐบาลทหาร เมื่อปลายปีที่แล้ว ก็เริ่มกลับมาปรากฎ ตัวอีกครังเพื่อช่วยเหลือปลอบขวัญประชาชนในยามทุกข์ยากและรณรงค์ให้ชาวพม่าออกมาลง ประชามติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ นอกจากนี พืนที่ตังกล่าวยังเป็นที่พำนักของนางอองซาน ซูจี ศูนย์รวมทางจิตวิญญาณของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและเป็นพืนที่ซึ่งชาวพม่าบางกลุ่ม ออกมาเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลทหารเนื่องจากความโกรธแค้นที่รัฐบาลให้ความสนใจต่อ กระบวนการลงประชามติมากกว่าการให้ความช่วยเหลือประชาชนตามหลักมนุษยธรรม
ชักจูงประชาชนให้ออกมาลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ จากสภาวะแวดล้อมดังกล่าว จะเห็น ว่า การเมืองพม่าได้เริ่มเปลี่ยนแปลงไปสู่ลักษณะของ “สองนคราบนทางแพร่ง” เนื่องจาก ความแตกต่างของภูมิทัศน์ทางการเมือง (Political Landscape), ศูนย์อำนาจทางการปกครอง, เงื่อนเวลาของการลงประชามติ และการพัดกระหนํ่าของพายุไซโคลนนาร์กีสซึ่งเป็นป็จจัย กระตุ้นที่ผ่าการเมืองพม่าออกเป็นสองส่วนอย่างชัดเจน ขณะเดียวกัน การที่รัฐบาลเดินหน้าลง ประชามติในเงื่อนเวลาที่แตกต่างกันและปฏิเสธการรับความช่วยเหลือจากมหาอำนาจตะวันตก เพื่อป็องกันการแทรกแซงจากต่างชาติท่ามกลางคราบนำตาและเสียงรํ่าไห้ของชาวพม่าที่เผ่ารอ ความช่วยเหลือจากประชาคมโลกก็ยิ่งตอกยํ้าและเร่งเร้าให้การเมืองพม่าถูกแบ่งออกเป็นสอง ส่วนท่ามกลางความขัดแย้งที่ร้อนระอุระหว่างอำนาจในแนวระนาบ (Horizontal Power) ของ กลุ่มเครือค่ายประชาธิปไตยซึ่งมีศูนย์กลางการเคลื่อนไหวอยู่ที่นครย่างกุ้ง และ อำนาจใน แนวดิ่ง (Vertical Power ) ของกลุ่มคณะทหารซึ่งมีศูนย์บัญชาการอยู่ที่นครเนปีดอว์ แต่อย่างไร ก็ตาม สถาบันกองทัพก็ยังคงครองความโดดเด่นบนเวทีการเมืองพม่าและสามารถผ่องถ่าย อำนาจในการปกครองประเทศสืบต่อไป เนื่องจากรัฐบาลทหารกลับเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะอย่าง ถล่มทลายในการลงประชามติครั้งล่าสุด โดยอาศัยการดำเนินยุทธศาสตร์และยุทธวิธีใน หลากหลายระดับ ไม,ว่าจะเป็น การยักยอกอาหารที่ได้รับบริจาคจากต่างประเทศแล้วไปขายต่อ ให้ประชาชนอีกทีหนึ่งโดยผู้ที่จะได้รับอาหารจะต้องออกไปลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ, การบังคับให้ประชาชนออกมาลงประชามติต่อหน้าเจ้าหน้าที่ทหาร, การปลอมแปลงบัตร ลงคะแนนเพื่อเพิ่มสัดส่วนให้กับมติรับร่างรัฐธรรมนูญ, และ การนับคะแนนในสถานที่ลับ ภายในกรุงเนปิดอว์เพื่อป็องกันการแทรกแซงจากภายนอก13
ชักจูงประชาชนให้ออกมาลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ จากสภาวะแวดล้อมดังกล่าว จะเห็น ว่า การเมืองพม่าได้เริ่มเปลี่ยนแปลงไปสู่ลักษณะของ “สองนคราบนทางแพร่ง” เนื่องจาก ความแตกต่างของภูมิทัศน์ทางการเมือง (Political Landscape), ศูนย์อำนาจทางการปกครอง, เงื่อนเวลาของการลงประชามติ และการพัดกระหนํ่าของพายุไซโคลนนาร์กีสซึ่งเป็นป็จจัย กระตุ้นที่ผ่าการเมืองพม่าออกเป็นสองส่วนอย่างชัดเจน ขณะเดียวกัน การที่รัฐบาลเดินหน้าลง ประชามติในเงื่อนเวลาที่แตกต่างกันและปฏิเสธการรับความช่วยเหลือจากมหาอำนาจตะวันตก เพื่อป็องกันการแทรกแซงจากต่างชาติท่ามกลางคราบนำตาและเสียงรํ่าไห้ของชาวพม่าที่เผ่ารอ ความช่วยเหลือจากประชาคมโลกก็ยิ่งตอกยํ้าและเร่งเร้าให้การเมืองพม่าถูกแบ่งออกเป็นสอง ส่วนท่ามกลางความขัดแย้งที่ร้อนระอุระหว่างอำนาจในแนวระนาบ (Horizontal Power) ของ กลุ่มเครือค่ายประชาธิปไตยซึ่งมีศูนย์กลางการเคลื่อนไหวอยู่ที่นครย่างกุ้ง และ อำนาจใน แนวดิ่ง (Vertical Power ) ของกลุ่มคณะทหารซึ่งมีศูนย์บัญชาการอยู่ที่นครเนปีดอว์ แต่อย่างไร ก็ตาม สถาบันกองทัพก็ยังคงครองความโดดเด่นบนเวทีการเมืองพม่าและสามารถผ่องถ่าย อำนาจในการปกครองประเทศสืบต่อไป เนื่องจากรัฐบาลทหารกลับเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะอย่าง ถล่มทลายในการลงประชามติครั้งล่าสุด โดยอาศัยการดำเนินยุทธศาสตร์และยุทธวิธีใน หลากหลายระดับ ไม,ว่าจะเป็น การยักยอกอาหารที่ได้รับบริจาคจากต่างประเทศแล้วไปขายต่อ ให้ประชาชนอีกทีหนึ่งโดยผู้ที่จะได้รับอาหารจะต้องออกไปลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ, การบังคับให้ประชาชนออกมาลงประชามติต่อหน้าเจ้าหน้าที่ทหาร, การปลอมแปลงบัตร ลงคะแนนเพื่อเพิ่มสัดส่วนให้กับมติรับร่างรัฐธรรมนูญ, และ การนับคะแนนในสถานที่ลับ ภายในกรุงเนปิดอว์เพื่อป็องกันการแทรกแซงจากภายนอก13
ผลของการลงประชามติปรากฎว่า มีผู้ลงคะแนนสนับสนูนร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 10 พฤษภาคม เป็นจำนวนถึงร้อยละ 92.4 และผู้สนับสนูนร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 24 พฤษภาคม เป็นจำนวนถึงร้อยละ 92.4 เช่นเดียวกัน14 แต่ถึงแม้ว่ารัฐบาลทหารจะเป็นผู้คว้าชัยชนะ การเมือง พม่านับจากนี้ต่อไปก็จะเริ่มเคลื่อนดัวเข้าสู่ลักษณะของ “สองนคราบนทางแพร่ง” อย่างชัดเจน สืบเนื่องจากพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย, กลุ่มพระสงฆ์บางส่วน, นักเคลื่อนไหว สิทธิมนูษยชน และ กลุ่มประเทศตะวันตก ได้ออกมาเคลื่อนไหวอย่างรุนแรงเพื่อคัดค้านผลการ ลงประชามติและเพิ่มแรงกดดันให้รัฐบาลพม่าหันมาเปิดประเทศเพื่อให้องค์การสหประชาชาติ และองค์กรบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ เข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากพายุไซโคลนได้อย่าง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น