การท่องเที่ยวพม่าเป็นภาคอุตสาหกรรมการบริการอุตสาหกรรมหนึ่งจากสิบสอง อุตสาหกรรมการบริการที่มีศักยภาพในการสร้างรายได้ให้กับประเทศในสัดส่วนที่สูง และเป็นภาคอุตสาหกรรมที่มีการกระจายรายได้ให้แก่ประชากรในประเทศได้มากที่สุด อุตสาหกรรมหนึ่ง โดยในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศพม่าตามความหมาย ในพระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศพม่า พ.ศ. 2522 (อ้างถึงใน สงวน สุทธิเสิศ- อรุณ, 2546, หน้า 237) หมายถึง อุตสาหกรรมที่จัดให้มี หรือให้บริการเกี่ยวกับการท่อง- เที่ยวทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักรโดยมีค่าตอบแทน หมายรวมถึง
1.ธุรกิจทัวร์
2.ธุรกิจโรงแรมนักท่องเที่ยว
3.ธุรกิจการขายของที่ระลึกหรือสินค้าสำหรับนักท่องเที่ยว
4.ธุรกิจการกีฬาสำหรับนักท่องเที่ยว
5.การดำเนินงานนิทรรศการ
งานแสดง งานออกร้าน การโฆษณาเผยแพร,หรือ
ดำเนินงานอื่นใดโดยมีความบุ่งหมายเพื่อแนะนำหรือส่งเสริมให้มีการเดินทางท่องเที่ยว
จากศักยภาพในการสร้างรายได้ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวพม่าที่สร้าง
ผลตอบแทนให้แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในประเทศในอัตราส่วนที่สูง
ประกอบกับความพร้อมในทรัพยากรท่องเที่ยวของพม่า ที่สามารถดึงคดนักท่องเที่ยว
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในแต่ละปีมีอัตราส่วนทีเพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน
จึงทำให้ นักธุรกิจจากต่างประเทศมีความสนใจที่จะเข้ามาลงทุนในภาคอุตสาหกรรมการบริการนี้
แต่ยังมีกฎเกณฑ์และข้อจำกัดทางด้านกฎหมายของประเทศพม่าที่ยังสงวนสิทธิให้แก่
ประชากรในประเทศ ซึ่งไม่อำนวยต่อการเข้ามาแข่งขันในธุรกิจชุดังกล่าวแก่นักลงทุน
ต่างชาติ
จึงทำให้นักลงทุนต่างชาติ (ได้แก่ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ป่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์
สวิตเซอร์แลนด์ สหภาพยุโรป สิงคโปร์ ปานามา จีน ไต้หวัน อินเดียและ ออสเตรเลีย
ได้มีขอเรียกร้องให้ประเทศพม่าทำการยกเลิกกฎเกณฑ์ข้อบังคับต่าง ๆ
ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้ามาลงทุนในภาคอุตสาหกรรมการบริการท่องเที่ยวของ
นักลงทุนต่างชาติ โดยผ่านทางผู้นำประเทศของตนในการประชุมองค์การการค้าโลก (World Trade Organization-WTO) ซึ่งประเทศพม่าเป็นประเทศสมาชิกหนึ่งของ
WTO ซึ่งสามารถสรุปเนื้อหาการเปิดเสรีทางการค้าในภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างสังเขป
ได้ด้งนี้ องค์การการค้าโลก WTO ไค้มีการประชุม
และกำหนดให้การค้าบริการ เป็นเรื่องหนึ่งที่ต้องเปิดเจรจาเปิดเสรีนอกเหนือจากการเจรจาเรื่องสินค้า
โดยใช้ข้อตกลง บัวไปว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in
Service—GATS) ในปี พ.ศ. 2538 ซึ่งมีเนื้อหาในการขยายการเปิดตลาด
และยกเลิกอุปสรรคต่าง ๆ ที่เป็นการเลือก ปฏิบัติ โดย WTO ไค้มีการจำแนกประเภทบริการของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไว้
4 สาขา ย่อยได้แก่ (สำนักเจรจาการค้าบริการ, 2547)
6.โรงแรม และภัตตาคาร (hotel lodging services and restaurant services)รวมทั้งบริการจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่มนอกสถานที่ (catering
services)
7.ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว (travel agencies and tour operator services)
8.มัคคุเทศก์ (tourist guides services)
9.บริการท่องเที่ยวอื่น ๆ (others)
โดยข้อผูกพันการเปิดตลาดบริการท่องเที่ยวของประเทศพม่าใน
WTO จากการเจรจารอบอุรุกวัย
ประเทศพม่าไค้ผูกพันการเปิดตลาดบริการท่องเที่ยวไว้ทั้งหมด 5 กิจกรรม คือ
1.บริการโรงแรมพัก (hotel lodging services)
2.บริการค้านภัตตาคาร (restaurant services)
3.บริการจัดการค้านอาหารและเครื่องดื่มนอกสถานที่ (catering services)
4.บริการผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยว (traveling agencies services)
บริการคานการจัดการโรงแรม (hotel management
services)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น