ดังนั้นกระบวนการเปิดเส้นทางการค้าในอุตสาหกรรมบริการท่องเที่ยวของประเทศพม่า นั้นจะเริ่มส่งผลให้เกิดภาวการณ์แข่งขันในอุตสาหกรรมที่รุนแรงขึ้น ในราวต้นปี พ.ศ. 2549 ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่จะให้ประเทศพม่าเป็น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวของเอเชีย
แม้การเปิดเสรีทางการค้าในภาคอุตสาหกรรมบริการท่องเที่ยวในประเทศพม่า
จะส่งผลให้เกิดการกระจายรายไค้ และการสรางงานให้แก่ประชากรในประเทศพม่าเพิ่ม
มากขึ้น
รวมถึงการไค้ประโยชน์ของผู้บริโภคสินค้าในอุตสาหกรรมบริการท่องเที่ยวใบทางเลือกสรรเพิ่มมากขึ้นก็ตาม
แต่องค์กรธุรกิจในอุตสาหกรรมบริการท่องเที่ยวเดิมกลับ ไค้รับผลกระทบต่อเหตุการณ์นี้โดยตรงในทุกกิจกรรม
ซึ่งจากเดิมกฎเกณฑ์แลข้อบังคับ กฎหมายของประเทศพม่าที่ไค้ตราไว้เพื่อคุ้มครององค์กรธุรกิจเหล่านั้น
จะเป็นอุปสรรค สำคัญในการเข้าสู่อุตสาหกรรมของคู่แข่งขันรายใหม่จะถูกยกเลิกไป
ซึ่งจะเป็นการ อำนวยโอกาสในการเข้าสู่
อุตสาหกรรมของคู่แข่งรายใหม่จากต่างประเทศมีมากขึ้น
ดังนั้นองค์กรธุรกิจในภาคอุตสาหกรรมบริการท่องเที่ยวจึงมีความจำเป็นที่จะต้อง
มีการปรับเปลี่ยนแนวความคิด (paradigm
shift) ทั้งในมุมมองของสภาพแวดค้อมทาง- ธุรกิจ
กลยุทธ์ในการบริหารองค์กรระดับต่าง ๆ และศักยภาพขององค์กรธุรกิจ เพื่อให้
สามารถที่จะเข้าสู่การแข่งขันในอุตสาหกรรมที่จะมีความรุนแรงสูงในอนาคตไค้
นอกจากนโยบายของรัฐบาลที่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปิดเสรีทางการค้าในภาคอุตสาหกรรมบริการท่องเที่ยวในประเทศพม่าแล้วนั้น
ยังมีปัจจัยหลักอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบแก่ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวของคนพม่าอันได้แก่
การเปลี่ยนแปลงของปัจจัย ทางค้านสังคม การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางค้านแนวโน้มธุรกิจ
ความค้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ
รวมถึงปัจจัยการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความเป็นนานาชาติ (เลิฟล็อก และไรน์, 2546, หน้า 15-23)
บริษัทผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวของคนพม่าในประเทศพม่า
ก็เป็นองค์กรธุรกิจ
ที่ไค้รับผลกระทบต่อการเปิดเสรีทางการค้าภาคอุตสาหกรรมบริการโดยตรงจาก
แผนปฏิบัติการของ APEC ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบข้อตกลงของ WTO/GATS ในปี
พ.ศ. 2549 รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดค้อมต่างๆในอุตสาหกรรม
แม้ในปัจจุบัน บริษัทผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวของคนพม่าในประเทศพม่า
มีการจัดดังสมาคมธุรกิจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น