ความรู้และความสนุกสนานก็เพราะมัคคุเทศก์ทุกฝ่ายต่างเอื้อประโยชน์ต่อกันและกัน
แต่ผู้'ที่จะสามารถ
จรรโลงส่งเสริมสถานภาพเช่นนี้ไจ้ได้ คือ
มัคคุเทศก์ผู้ที่จะเข้ามาประกอบอาชีพนี้จึงควรตระหนักใน
ภาระความรับผิดชอบในฐานะตัวแทนของคนไทยทั้งชาติและจะต้องมีความภาคถูมิใจที่จะได้เป็นผู้
สร้างสรรค์ความเจริญให้แก,วิชาชีพมัคคุเทศก์ ซึ่งจะส่งผลต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยส่วนรวมด้วย
(วิพาภา ช่างเรียน, 2541, น.4)
ในคริสต์ศตวรรษที่ 18
การเดินทางท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาและขยายโลกทัศน์ให้แก'ตนเอง
กลายเป็นความนิยมของบุคคลในสังคมขั้นสูงและนักศึกษาชาวอังกฤษที่สำเร็จขั้นอุดมศึกษาได้ไป
ท่องเที่ยวตามแหล่งที่มาของอารยธรรมต่างๆ ก่อนเข้าประจำทำงาน
ผู้นำเที่ยวที่เป็นนักศึกษาจึงได้ชื่อ ว่าเป็น “มัคคุเทศก์” แบบผู้นำเที่ยว (Tourist
Guide) ไป นอกเหนือจากการเป็นผู้บอกทาง ผู้นำทางแบบ ในสมัยก่อนนั้น
มัคคุเทศก์ในเมืองไทย
น่าจะเริ่มมีกันตั้งแต่ครั้งที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยากำแพงเพชร
อัครโยธินในตำแหน่งผู้บัญชาการรถไฟ
ทรงมีพระดำริเรื่องการท่องเที่ยวทางรถไฟและส่งเสริมเรื่อง
การท่องเที่ยวในเมืองไทยไปเผยแพร่ในอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2467
กระทรวงพาณิชย์และคมนาคมเสนอ การบำรุงอุตสาหกรรมท่องเที่ยวขึ้นอย่างเป็นทางการใน
พ.ศ. 2479 อาชีพมัคคุเทศก์ในประเทศไทยจึง เริ่มแพร่หลายในช่วงปี พ.ศ. 2479-2504
มีชาวต่างประเทศทั้งนักท่องเที่ยว นักธุรกิจและผู้เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว
เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก เกิดบริษัทนำเที่ยวขึ้นหลายแห่ง มีการ
ว่าจ้างผู้มีความรู้ภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษมาเป็นมัคคุเทศก์
มีนักท่องเที่ยวเดินทางมา ท่องเที่ยวเป็นกลุ่มใหญ่ๆ
เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวของไทยมีชื่อเสียงแพร,หลายกจ้างขวางขึ้นและมี
ความสะดวกในการเดินทางมากขึ้น นอกจากนี้การเดินทางท่องเที่ยวยังได้ขยายตัวไปยังกลุ่ม
นักท่องเที่ยวเชื้อชาติต่างๆ
ที่ใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษอีกด้วย จึงทำให้เกิดความต้องการ มัคคุเทศก์ภาษาอื่น
เพิ่มขึ้น
ในระยะแรกๆ มัคคุเทศก์มักจะเป็นเพียงผู้ที่พูดภาษาต่างประเทศได้เท่านั้น
ซึ่งแม้ว่าจะไม,ใช่ผู้ ที่มีความรู้สูง แตกมีจิตใจดี มีความรักหวงแหนในเกียรติถูมิของชาติ
ไม่เอาเปรียบหลอกลวง คดโกง นักท่องเที่ยว
แต่เมื่อมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนประเทศไทยมากขึ้น ทำให้มีความต้องการ
มัคคุเทศก์มากขึ้นตามไปด้วย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
หรือองศ์การส่งเสริมการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อสท.)
ในสมัยนั้นจึงได้เริ่มพัฒนาสถานภาพของมัคคุเทศก์ โดยจัดอบรม
หสักสูตรมัคคุเทศก์ขึ้นที่คฌะอักษรศาสตร์ จุพาลงกรฌ์มหาวิทยาลัย
เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2504
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น