วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

การศึกษารูปแบบทีเหมาะสมในการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

การศึกษารูปแบบทีเหมาะสมในการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม 

ย่านคลองอ้อม จังหวิดนนทบุรี เป็นการศึกษาโดยการใช้ระเบียบวิธีวิจัยเซิงปริมาณและเซิงคุณภาพ โดยมีวัตถุ ประสงค์เพี่อศึกษาและประเมิน คุณค่าและจักยภาพทางการท่องเที่ยวของทรัพยากรทางวัฒนธรรม ย่าน คลองอ้อม จังหวัดนนทบุรี และหาแนวทางพี่เหมาะสมในการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเพี่อรองรับ การขยายตัวของธุรกิจการท่องเที่ยวในอนาคต โดยมุ่งหวังให้ชุมซนย่านคลองอ้อม จังหวัดนนทบุรี เป็น แหล่งเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้า และเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญ ระดับประเทศ ด้วยรูปแบบที่เหมาะสมของการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ที่สามารถใช้เป็นตัวอย่าง ในการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ในชุมซนย่านอนต่อไป

1.พื้นที่ศึกษา 

พี้นที่ริมคลองอ้อม หรอแม่นาอ้อมทั้งสองฝัง โดยศึกษาพื้นที่ตามขอบเขต แม่,นาอ้อม หรอ คลองอ้อม ของ ศรัณย์ทองปาน (2540 : 21) คอ หมายรวมเอาสองฝังลำแม่'นํ้าเจ้าพระยาสายเก่าที่หัก เลี้ยวเข้ามาเป็นคลองเซึ่อมต่อแม่นํ้าเจ้าพระยาในปัจจุบัน โดยเสือกศึกษาเส้นทางตั้งแต่ปากคลองพี่แยก จากแม่นํ้าเจ้าพระยา ใน ต.ไทรม้า อ.เมีองนนทบุรี จนถึงปากคลองบางกรวยบริเวณวัดซลอ จากแผนที่ตัว เมืองกรุงเทพมหานคร (พิมพ์ครั้งที่ 4) พื้นที่ที่จะศึกษาครอบคลุมถึง คลองอ้อมนนท์จากแม่,นํ้าเจ้าพระยา ถึงคลองบางรักใหญ่ คลองอ้อมน้อย จากคลองบางรักใหญ่ถึงคลองบางใหญ่ และคลองบางกอกน้อย จากคลองบางใหญ่ถึงวัดซลอ

คลองอ้อมนนท์ เป็นแม่นํ้าเจ้าพระยาสายเก่ามีพื้นที่อยู่ในเขต อ.เมืองนนทบุรี อ.บางกรวย อ. บางใหญ่ และอ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี โดยแนวลำคลองถูกใช้เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองในปัจจุบัน ระยะทางประมาณ17.5กิโลเมตร (หวนพินธุพันธ์2547 : 107) เพี่อที่จะประมาณเนื้อที่ของพื้นที่ศึกษา ได้นำข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด (กระทรวงมหาดไทย 2553) จากแผนที่ และภาพถ่ายทางอากาศ แสดงให้เห็นอาณาเขตของตำบลต่างๆ พี่มีอาณาเขตติดกับคลองอ้อมดังนื้

อ.เมืองนนทบุรี พื้นที่ใน ต.ไทรม้า 8.14 ตารางกิโลเมตร ต.บางศรีเมือง 1.67 ตารางกิโลเมตร ต.บางกร่าง 7.45 ตารางกิโลเมตร และต.บางรักน้อย 6.02 ตารางกิโลเมตร พื้นที่รวม 23.28 ตาราง กิโลเมตร

อ.บางกรวย พื้นที่'ใน ต.วัดซลอ 8.40 ตารางกิโลเมตร ต.บางลีทอง 2.58 ตารางกิโลเมตร ต. บางขนุน 3.18 ตารางกิโลเมตร ต.บางขุนกอง 6.24 ตารางกิโลเมตรและต.บางคูเวียง 9.95 ตาราง กิโลเมตร พื้นที่รวม 30.33 ตารางกิโลเมตร

อ.บางใหญ่ พื้นที่ใน ต.บางม่วง 10.33 ตารางกิโลเมตร ต.บางเลน 4.74 ตารางกิโลเมตร และต.เสาธงหิน 11.54 ตารางกิโลเมตร พื้นที่รวม 26.61 ตารางกิโลเมตร

อ.บางบัวทอง มีพื้นที่ที่ติดคลองอ้อมอยู่ที่ ต.บางรักใหญ่ 7.18 ตารางกิโลเมตร การคิกษาวิจัยครั้งนี้อยู่ในขอบเขตพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 87.4 ตารางกิโลเมตร

2. การสร้างแบบประเมินคุณค่าและศักยภาพของวัฒนธรรม ย่านคลองอ้อมนนท์

2.1 ใช้ข้อมูลจากแนวคิด ทฤษฏี เอกสารวิซาการ ตัวอย่างแบบประเมินมาตรฐานแหล่ง ท่องเที่ยว และแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม กรณีคิกษาเปรียบเทียบ ในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์ใน การประเมินคุณค่าความสำคัญ และคักยภาพของทรัพยากรทางวัฒนธรรม ย่านคลองอ้อม โดยได้รับ ความเห็นชอบและตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ

2.2 เก็บรวบรวมข้อมูลภาพถ่าย

3.วิธีการเก็บรรบรรมข้อมูล

3.1 การคิกษาจากเอกสาร (Documentary Study) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการคิกษา แนวคิด ทฤษฏีในการคิกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคลองอ้อมด้านกายภาพ ประวัติศาสตร์และ โบราณคดี หลักการวางแผนการท่องเที่ยว การจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และแนวทางการประเมิน ความสำคัญและคักยภาพของทรัพยากรวัฒนธรรม ในฐานะทรัพยากรการท่องเที่ยว ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ได้ จากรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ หนังสือ จุลสาร บทความและเอกสารเผยแพร่ แผนที่ ภาพถ่ายเก่า รวมทั้งสึ่อทางอินเตอร์เน็ต เพี่อเป็นแนวทางในการคิกษา

3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Study) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยเก็บข้อมูลในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้

3.3 ประวัติศาสตร์ชุมชนโบราณสถานโดยเลือกศึกษาโบราณสถานที่มีความเก่าแก่มี หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ห่รีอมีคุณลักษณะที่โดดเด่น ได้แก่ วัดซลอ วัดโตนด วัดโพธิ๋บางโอ วัดบาง อ้อยช้าง วัดโบสถ์บน วัดสิงห์วัดตะเคียน วัดอัมพวัน วัดปรางค์หลวง วัดพิกุลเงิน วัดเสาธงหิน วัด ปราสาท วัดขวัญเมือง วัดเฉลิมพระเกียรติฯ และชุมซนที่ยังคงสภาพวิถีชีวิตริมนํ้าได้แก่ ชุมซนวัดซลอ ชุมซนบางขนุน ชุมซนวัดโบสถ์บน ชุมซนบางม่วง ชุมซนวัดขวัญเมือง และชุมซนบางศ่รีเมือง

3.2.2 ภูมิทัศน์วัฒนธรรมตลอดเส้นทางนํ้า และทางบก เก็บรวมรวมข้อมูลภาพถ่ายเพี่อ เสนอสภาพปัจจุบันของพื้นพี่

3.2.3 รูปแบบ และองค์ประกอบทางการท่องเที่ยวในย่านคลองอ้อมนนท์

3.2.4 ทัศนคติของคนในชุมซน เที่ยวกับวิถีชีวิตริมคลอง การคมนาคมขนล่งทางนํ้า การ ท่องเที่ยว และการอนุรักษ์สงแวดล้อมและโบราณสถาน

3.2.5 รูปแบบการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับพื้นที่

เก็บข้อมูลโดย การสำรวจ การลังเกต การลัมภาษณ์เซิงลึก และทำการตรวจสอบสาม เส้า โดยใช้การเก็บข้อมูลมากกว่า 1 วิธี จากผู้ให้ข้อมูลมากกว่า 1 กลุ่ม

4. กลุ่มประชากรทีทำการศึกษา

ในการเลึอกกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการเสือกสุ่มแบบเจาะจงและการสุ่มแบบบังเอิญ จาก กลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม ได้แก่

4.1 เจ้าหน้าที่หน่วยราซการที่มีหน้าที่ดูแลจัดการพื้นที่ลึกษา ระดับอำเภอ ตำบล หมู่บ้านอบต.
4.2ประชาชน ในชุมชนทอยู่ในเขตทรัพยากรวัฒนธรรมที่เลึอกลึกษr ชงเป็นประซาซนที่ อาค์ยอยู่สองฝังคลองอ้อม
4.3 กลุ่ม องค์กร วัด ที่มีบทบาทในการพัฒนาท้องกน
4.4 หน่วยธุรกิจที่มีล่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยว
4.5 นักท่องเที่ยว ที่เข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่

5. เครี่องมือทีใช้ในการศึกษา

5.1 แบบประเมินคุณค่าและดักยภาพทางการท่องเที่ยวของทรัพยากรวัฒนธรรม ย่านคลอง

อ้อมนนท์

5.2 ชุดคำถามในการลัมภาษณ์โดยการออกแบบชุดคำถามโดยยึดวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพี่อกำหนดข้อมูลที่ต้องการ ผู้ให้ข้อมูล วิธีเก็บข้อมูล และเสือกเครื่องมีอการเก็บข้อมูล แนวคำถาม แนว ทางการลังเกต

5.3 เครื่องมีอช่วยจดจำ สำหรับใช้ในการจดบันทึกรายละเอียดจากการสำรวจและการลัม ภาษณ์ได้แก่ สมุดจดบันทึก กล้องก่ายภาพ และเครื่องบันทึกเสียง

6.การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูล

การคืกษาครั้งนี้เป็นการคืกษาเซิงพรรณนาความ (Descriptive Analysis) ทั้งนี้ผู้คืกษาใช้ วิธีการตีความสร้างข้อสรุปจากข้อมูลที่เป็นรูปธรรม จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือวิธีการตีความ และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย และนำผลการคืกษามาเสนอรูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม ย่านคลองอ้อม จ.นนทบุรี นำไปสู่แผนปฏิบัติการโดย

6.1 การประเมินจักยภาพทางการท่องเที่ยวและคุณค่าของทรัพยากรวัฒนธรรม ได้แบ่งการ ประเมินคุณค่าออกเป็น 2 ส่วน คือ การประเมินคุณค่าและจักยภาพโดยการคืกษาจากข้อมูลเอกสาร ต่างๆ และการประเมินคุณค่าและจักยภาพ โดยพิจารณาถึงสภาพปัจจุบันจากการสำรวจ และผลจาก แบบประเมินคุณค่าและความสำคัญของทรัพยากรวัฒนธรรม ย่านคลองอ้อม ทั้งนี้ในการเสนอรูปแบบที่ เหมาะสมในการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม อยู่บนพี้นฐานของ คุณค่าและจักยภาพของทรัพยากร วัฒนธรรม มาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยว ตามแนวคิดการวางแผนการท่องเที่ยว และการจัดการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

6.2 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดการท่องเที่ยวในย่านคลองอ้อมนนท์
6.3 การวิเคราะห์หารูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ย่านคลองอ้อม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น