วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และแหล่งเรียนเท่างว้ฒนรรรม

จากการศึกษาหาแนวทางประเมินคุณค่าและศักยภาพของทรัพยากรวัฒนธรรมในฐานะ

ทรัพยากรการท่องเที่ยว ได้พบคู่มอการประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และแหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยสำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ร่วมกับ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2549) ซื่งกล่าวถีงความสำคัญของมาตรฐาน คุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทางประวิติศาสตร์ ซึ่งเป็นแหล่งที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่มีความแตกต่างจากแหล่ง ท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นประเภทอึ่น เนึ่องจากมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และลังคม รวมถีง ความผูกพันทางจิตใจต่อซนรุ่นหลัง ประเทศไทยมีแหล่งประว่ติศาสตร์จำนวนมาก กระจายอยู่ตามภาค ต่างๆ ทั่วประเทศไทย และมีความเป็นเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมและดีลปกรรมเฉพาะในแต่ละท้อง

ถิ่น ซึ่งเป็นจุดดึงดูดสำคัญด้านการท่องเที่ยว แต่การเปิดแหล่งประวัติศาสตร์เพึ่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวโดย ขาดการจัดการที่ดึ อาจทำให้โบราณสถานและสภาพแวดล้อมของแหล่งประวัติสาสตร์เกิดความเลึ่อม
โทรมได้ จนบางครงยากต่อการฟืนฟูแก้ไขให้กลับดึนสภาพเดิม และส่งผลกระทบทางลบต่อการท่องเที่ยว ในที่สุดการกำหนดกรอบหรือเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวที่ซัดเจน สำหรับให้หน่วยงาน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลแหล่งท่องเที่ยวได้นำไปใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ดึงเป็นลงสำคัญต่อการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย และยังสามารถใช้เป็นลงบ่งบอกให้ นักท่องเที่ยวรับรู้ในคุณภาพของแหล่งท่องเที่ยว และมีส่วนสำคัญในการตัดสินใจเสือกใช้บริการซึ่งหมายถึงการเพมขึ้นของรายได้ทางการท่องเที่ยวของประเทศด้วย รวมทั้งเป็นการเพมมาตรฐานแหล่ง

ท่องเทียวของประเทศไทย ให้เป็นทียอมรับทังในและต่างประเทศเพิมมากขึน (สถาบันวิจัยสภาวะแวด ล้อม 2549
คู่มืออประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ได้แบ่งประเภทของแหล่งท่องเที่ยว ทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 10 ประการ ดึอ


  1. อุทยานประวัติศาสตร์อารยธรรม แหล่งโบราณคดี เมืองโบราณ 
  2. พระราชวัง วัง พระตำหนัก ตำหนัก พระที่นั่ง คุ้ม
  3. ศาลนสถาน
  4. ปราสาทหิน ปรางค์กู่
  5. อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน ศาลวีรชน สุสาน
  6. พิพิธภัณฑ์ทางด้านประวัติศาสตร์ดิลปวัฒนธรรมและดิลปะร่วมสมัย
  7. ป้อมปราการ กำแพงเมีอง ประตูเมือง ดูเมือง
  8. สงปลูกสร้างซึ่นๆ ที่มืความสำคัญทางประวัติศาสตร์หรือวัฒนธรรม
  9. สงปลูกสร้างที่มืคุณค่าทางสถาปัตยกรรม


จากการกำหนดประเภทของแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ เป็น 10 ประการ จะพบว่า ทรัพยากรวัฒนธรรม ในย่านคลองอ้อม จ.นนทบุรี ประกอบไปด้วยประเภทของแหล่งท่องเที่ยวทางประ วัติศาสตร์ที่กล่าวมาแล้วมากกว่าครื่ง ได้แก่ ข้อ 2. แหล่งโบราณคดี ข้อ 4. ศาลนสถาน ข้อ 5.ปรางค์ ข้อ

7.พิพิธภัณฑ์ทางด้านประวัติศาสตร์ดิลปวัฒนธรรม ข้อ 9. ลงปลูกสร้างซึ่นๆ ที่มืความสำคัญทางประวัติ ศาสตร์หรือวัฒนธรรม และข้อ 10. ลงปลูกสร้างที่มืคุณค่าทางสถาปัตยกรรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น