วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

เที่ยวอย่างยั่งยืนที่สามารถนำมาเป็นองค์ประกอบในการสร้างเกณฑ์ประเมินคุณค่าและสักยภาพของ
ทรัพยากรวัฒนธรรมในฐานะทรัพยากรการท่องเที่ยว โดยหลักการ 18 ประการ ดังต่อไปนี้

1. การมีส่วนร่วมของชุมซน
2. ความร่วมมีอของกลุ่มต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. การสร้างโอกาสจ้างงานที่มีคุณภาพ
4. การกระจายผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว
5. การใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า เกิดประโยชน์สูงสุด
6. การวางแผนระยะยาว
7. ความสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สงแวดล้อม
8. ความสอดคล้องกันระหว่างแผนการท่องเที่ยว และแผนพัฒนาด้านต่างๆ
9. ความร่วมมีอระหว่างผู้กำหนดนโยบายกับผู้ปฏิบัติ
10. การประสานความร่วมมีอระหว่างแหล่งท่องเที่ยวกับผู้ประกอบการ
11. การประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยว
12. การสร้างหลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบ
13.ภาารเน้นผลประ'โยชน์ชุ่มซน คุณค่าสิ^แวดล้อมทางธรรมชาติแล้ะวัฒนธรรม
14. การพัฒนาคน การคืกษา และหลักสูตรต่างๆ
15. การเสริมสร้างลักษณะเด่นอัตลักษณ์ของชุมชนและพี้นที่
16. การคำนึงถึงขีดความสามารถในการรองรับของทรัพยากร
17. การดำรงรักษาทรัพยกรมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
18. การตลาดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ศรีสักร วัลลัโกดม (2550 : 10) ได้แสดงทัศนะที่น่าสนใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนไว้ ว่า ความสำคัญของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของท้องกี่นก็คอ การให้คนจากภายนอก โดยเฉพาะนักท่อง เที่ยว ได้มาเรียนทู้เละแลเห็นว่าคนในท้องถน มีชีริตร้ฒนธ'?รมที่แตกต่างจากสังคมและวัฒนธรรมของ คนอึ่นอย่างไร โดยหวังกันว่าจากความเข้าใจและเรียนทู้รึ่องความแตกต่างและหลากหลายทางลังคม-วัฒนธรรมนี้เอง ที่จะทำให้คนในโลกสมัยโลกาภิวัตน์นี้จะได้เกิดความเข้าใจและอยู่กันอย่างเห็นอกเห็นใจ และสันติสุขได้ ที่แล้วมาหรีอแม้กระทั่งในขณะนี้ การท่องเที่ยวที่จัดโดยคนนอก คือ การท่องเที่ยวแบบ มวลซน ที่แลเห็นนิเวศวัฒนธรรมในลักษณะที่เป็นของแปลกใหม่เพื่อการปลดปล่อยความเครียด แลเห็น แต่วัตถุลงของที่สวยงาม เก่าแก่ แปลก แต่ไม่เห็นคน หัวใจของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจึงไม่ใช่การตลาด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น