วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

เเนวคิดการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ปัจเจกกับกลุ่ม กลุ่มกับกลุ่ม) ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติกายภาพ (ดินนา ลมไฟ อากาศสัตว์พืช สรรพลง สรรพสาร) และมนุษย์กับลงเหนือธรรมชาติ อำนาจเหนือมนุษย์ ให้อยู่ในสภาวะที่สมดุล มี เมตตาไมตรีเอื้อเพือเกื้อกูล ทำนุบำรุงกันและกันให้เจริญอยู่เสมอ

ผลจากการค้นคว้าหาข้อมูล เพึ่อหาแนวทางในการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในงาน

วิจัยนี้ ไค้ค้นพบแนวคิดของโครงการดิกษาการท่องเที่ยวเซิงนิเวศกับการปรับตัวทางวัฒนธรรม และ จักยภาพในการจัดการทรัพยากรชุมชนของกลุ่มชาติพันธุต่างๆ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน (ยศ สันตสมบัติ 2546 : 11-14) ซึ่งไค้เสนอกรอบแนวคิดในการดิกษาวิจัยการท่องเที่ยวเซิงนิเวศที่ประกอบด้วยแนวคิด 5 ประการ ซึ่งแนวคิดเหล่านั้นสามารถนำมาปรับใช้ และสนับสนุนในการหารูปแบบที่เหมาะสมในการจัด การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมไค้เป็นอย่างดี ผู้เขียนจึงขอนำกรอบแนวคิดที่กล่าวมาแล้วนั้นมาเป็นกรอบใน การวิจัย โดยการปรับเปลี่ยนการท่องเที่ยวเซิงนิเวศ เป็นการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยเน้นเนี้อหา ความหมาย และคำจำกัดความที่สอดคล้องกับการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่แสดงมาข้างต้น จังนั้น

แนวคิด 5 ประการ ที่จะนำมาเป็นกรอบในการวิจัย มีจังต่อไปนี้

แนวคิดประการแรก คอ กาวมองการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในบริบทของกาวเปลี่ยน แปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม การุท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจึง เป็นปรากฏการณ์ที่ไม'หยุดนี้ง มีการเคลื่อนไหว]] โดยเป็นการปรับตัวของชุมชน โดยสัมพันธ์กับเงื่อนไข ภายนอกในระจับมหภาค การมองการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในบริบทของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจ การเมีอง และทรัพยากรวัฒนธรรม เป็นแนวคิดที่ช่วยให้สามารถเซึ่อมโยงปรากฏการณ์ใน ท้องถนกับเงื่อนไขภายนอก และช่วยอื้ให้เห็นทิศทางของการพัฒนาประเทศ ที่มีผลต่อวิถีชีวิตของชุมชน อย่างซัดเจน การที่ภาคเอกซนเข้าไปผูกขาดธุรกิจท่องเที่ยว เป็นการสร้างประโยชน์และผลกำไรของธุรกิจ ท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว ซึ่งอาจจะเป็นผลเลียในค้านการทำลายวัฒนธรรมท้องลื่น ก่อให้เกิดความ เลื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมและทรัพยากรวัฒนธรรม เพราะชุมชนขาดอำนาจในการจัดการท่องเที่ยว และไม'สามารถพัฒนาจักยภาพของการพึ่งตนเองไค้อย่างต่อเนึ่อง การพิจารณาการท่องเที่ยวในบริบท ของการพัฒนาที่เน้นทิศทางเดียว ดิอ การเจริญเติบโตขยายตัวทางเศรษฐกิจเท่านั้น ช่วยให้เราทำความ เข้าใจกับปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับลังคมภายนอกไค้อย่างซัดเจน

แนวคิดประการที่สอง ดีอ กา'รมองการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจากมิติของครามส้ม 'พันธ์ระหว่างมนุษย์กิบธรวมชาติในฐานะเป็นวิถีชีวิตในระบบนิเวศเดียรกิโน โดยไม'สามารถแบ่ง

แยกออกจากกันได้เด็ดขาด ในลักษณะนี้การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการสร้างแรง จูงใจ เพึ่อให้ชุมชนทำการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม ภายใต้หลัก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น