วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

เเนวคิดการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2

วัฒนธรรมจึงเป็นการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับสงแวดล้อม ให้มีลักษณะเป็นการอนุรักษ์ และพัฒนาอย่างเข้มข้นยงขึ้น โดยเน้นการรักษาความสมบูรณ์ของภูมิทัศน์วัฒนธรรม ทรัพยากรวัฒน ธรรมที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ ให้นักท่องเที่ยว ผู้มาเยือนได้ซึ่นซม และชุมซนได้ประโยชน์จาก กิจกรรมการท่องเที่ยว ในขณะเดียวกันมีการกระจายผลประโยซน์จากการท่องเที่ยวออกไปในวงกว้าง

เพี่อให้สมาซิกของชุมซนได้รับประโยซน์จากการท่องเที่ยวโดยตรง การพิจารณาการท่องเที่ยวทางวัฒน ธรรมในบริบทของความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับสงแวดล้อม ช่วยให้เรามองเห็นว่า ความเป็นธรรมทาง สังคมเป็นเงื่อนไขสำคัญ ของความเป็นธรรมของระบบวัฒนธรรม การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจะประสบ ความสำเร็จได้ไม่ใช่บนพี้นฐานของการสำนึกในคุณค่าของการอนุรักษ์ทรัพยากรวัฒธรรมเท่านั้น แต่ยัง ขึ้นอยู่กับหลักการสำคัญของการสร้างแรงจูงใจ ให้ผู้ที่ทำการอนุรักษ์ทรัพยากรวัฒนธรรมได้รับประโยซน์ โดยตรงจากการกระทำของตนด้วย

แนวคัดประการที่สาม คือ การมองการท่องเที่ยวทางว้ฒนรวรมจากมิติทางววัฒนธรรม โดยการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเป็นการให้ความเคารพแก่อัตลักษณ์ และความหลากหลายทางวัฒนธรรมซึ่งมีวิถีชีวิตและจารีตประเพณีที่แตกต่างกันออกไป มุมมองทางด้านวัฒนธรรมเน้นการให้ความเคารพแก่คักดิ้ศรีและสิทธิในการเป็นมนุษย์มิใช่มองคนเป็นสัตว์ประหลาดและเปิดโอกาส'ให้การท่องเที่ยว

เที่ยวล่งผลให้เกดการละเมิดจาบจ้วงค1วาม1เซึ่อ วัฒนธรรมบประเพณีและพิธีกรรมของชุมซน ในทางตรง ข้าม การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมมุ่งเน้นให้ชุมซนมีสำนึกและภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ และวัฒนธรรม ประเพณีของตน สามารถอธิบายให้คนนอก หรีอนักท่องเที่ยวได้รับทู้เละเข้าใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ท้องถนว่ามีความสวยงามและมีคุณค่าอย่างไร เพี่อให้ทั้งชุมซนท้องถนและนักท่องเที่ยวมีล่วนร่วมใน

กระบวนการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน อันเป็นบ่อเกิดแห่งความเข้าใจ และเอกภาพในความหลากหลายทาง วัฒนธรรมของมนุษย์

แนวคิดประการที่สี่ ดีอ การมองการท่องเที่ยวทางห้ฒนรรรมในฐานะเป็นขบวนการทาง

ส้งคม หรือความพยายามของชุมซนในการปรับตัว ในบริบทและสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อ เนึ่องเพี่อสร้างดุลยภาพระหว่างการผลิตในภาคเกษตร และการประกอบอาชีพของซาวบ้านกับสภาพ
แวดล้อม ตลอดจนสร้างสรรค์ความเป็นธรรมภายในลังคม และการรวมตัวกันเพี่อต่อสู้กับการเอารัดเอา เปรยบจากบริษัทนำเที่ยวจากภายนอก การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอาจจะไม่ได้จำกัดตัวอยู่แต่เพียง
ชุมซนใดชุมซนหนึ่งอย่างโดดๆ หากแต่มีการรวมตัวกันเป็นเครือข่าย เพี่อจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ร่วมกัน หรือการจัดรายการท่องเที่ยวร่วมกันเป็นต้น ในแง่นั้การจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจึงเป็น ขบวนการทางสังคมที่เกิดขึ้นทั้งในระดับชุมซน และระดับเครือข่ายในบริบทการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม เพี่อทำการปกป้องผลประโยซน์ และทำการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น