วันพุธที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557

ความผิดตาม พรบ.คนเข้าเมืองโดยไม่มีวีซ่า


ความผิดตาม พรบ.คนเข้าเมืองโดยไม่มีวีซ่า พ.ศ.2522 ซึ่งเป็นความผิดเกี่ยวกับการหลบ หนีเข้าเมืองนั้น คนสัญชาติพม่าถูกจับกุมมากที่สุดในปี พ.ศ.2538 จำนวน 15,051 คน คิดเป็นจำนวน 71.55 เปอร์เซ็นต์
การส่งกลับของผู้หลบหนีเข้าเมืองไม่มีวีซ่า เป็นคนสัญชาติพม่ามากที่สุด ซึ่งในปี 2537 จำนวน 41,882 คน ปี 2538 จำนวน 51,095 คน คิดเป็นร้อยละ 82.09 ปัญหาสำคัญของผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า มีพื้นฐานมาจากเศรษฐกิจ ภายในประเทศตกตํ่า ประชนมีรายไค้น้อย ยากจน จึงไค้พากันหลบหนีเข้ามาใน ประเทศไทย เมื่อถูกจับดำเนินคดีและคดีถึงที่สุดแล้ว ส่วนใหญ่ศาลจะพิพากษาปรับ บุคคลเหล่านั้น แต่ไม่สามารถมีเงินเสียค่าปรับไค้ มีแต่ไม่ยอมเสียค่าปรับ จึงต้อง กักขังแทนค่าปรับ ซึ่งรัฐบาลไทยต้องรับภาระเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมากในการเลี้ยงดู ระหว่างรอการส่งกลับ 

ประกอบกับมีบางส่วนของผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่าไม่ทำวีซ่าเป็น ชนกลุ่มน้อย ซึ่งรัฐบาลพม่าเองไม่ยอมรับ เมื่อรัฐบาลไทยส่งตัวกลับชนกลุ่มน้อยดัง กล่าวก็จะถูกฆ่าทิ้งทำร้าย จึงต้องดำเนินการส่งตัวกลับในทางลับ เป็นเหตุให้ผู้ หลบหนีเข้าเมืองดังกล่าวกลับเข้ามาอีก ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ไม่สิ้นสุด

จากการที่ประเทศไทยไค้มีอัตราการพัฒนา และ การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างต่อเมื่องในระดับค่อนข้างสูง ผลจากการพัฒนาทำให้โครงสร้างทาง เศรษฐกิจมีการขยายตัว โครงสร้างการผลิตก็มีการเปลี่ยนแปลงจากการพึ่งพาภาค เกษตรกรรมเป็นหลักไปสู่ภาคอุตสาหกรรม และการบริการ ส่งผลให้เกิดความต้องการ กำลังแรงงานมากขึ้นทั้งในค้านปริมาณและคุณภาพ มีการเคลื่อนย้ายแรงงานไปสู่ภาค การผลิตที่ให้ค่าตอบแทนการทำงานที่สูงกว่า ประกอบกับการที่ประเทศไทยรณรงค์ เกี่ยวกับการคุมกำเนิดซึ่งไค้ผลอย่างมาก และการใช้นโยบายขยายการศึกภาคบังคับ ทำให้ผู้จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาแล้วออกหางา ทำมีจำนวนน้อยลง สภาพดัง กล่าวทำให้จำนวนแรงงานที่เข้าสู่ตลาดแรงงานลดลงอย่างมากโดยเฉพาะแรงงานไรปีมือ ซึ่งทำให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเกษตรกรรมและกิจการ

การพิจารณาสถิติผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยที่ไม่มีวีซ่า



สถานะเช่นเดียวกันกับผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่า คือในระหว่างที่ยังไม่สามารถผลักดันออก ไปได้ ทางราชการไค้มีมาตรการควบคุมบุคคลเหล่านี้คือ

1.มีการกำหนดเขตที่อยู่ให้อยู่เฉพาะในเขตจังหวัดชายแดนค้านพม่า
2.มีการจัดทำบัญชีรายชื่อบุคคลในบ้าน ทะเบียนประวัติ และบัตร
ประจำตัว
3.มีการจัดทำหลักฐานการเกิด การตาย
4.มีการกำหนดโทษผู้หลบหนีออกจากเขตที่อยู่
5.มีการอนุญาตให้ประกอบอาชีพไค้เพียง 27 ประเภท ตามพระ ราชบัญญัติการทำงานของคนต่างค้าว พ.ศ.2521
6.บุตรที่เกิดในราชอาณาจักรไทยไม่ไค้สัญชาติไทย

ต่อมารัฐบาลไค้พิจารณาให้ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยที่ไม่มีวีซ่า ได้รับการพิจารณาให้สัญชาติไทยเมื่อ 29 กันยายน พ.ศ.2532 ซึ๋งกระทรวงมหาดไทยไค้ดำเนิน การแปลงสัญชาติผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยของจังหวัดระนองและตากให้ไค้ สัญชาติไทยแล้ว บีจจุบันมี 813 คนในปี พ.ศ. 2537 - 2538 การปราบปรามผู้ทำผิดสัญชาติพม่าตามพระราช บัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 และกฎหมายอื่น ๆ ของประเทศไทย พบว่าสถิติไค้สูงชื้น ดังนี้ ( สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง 2538,120-107 )

ผู้หลบหนีเข้าเมืองจากพม่า



จากการที่รัฐบาลพม่ามีนโยบายในการปราบปรามผู้ที่มีความคิดเห็นไม่ตรง กับรัฐบาลและดำเนินมาตรการปราบปรามชนกลุ่มน้อยอย่างรุนแรง ประกอบกับการผู้ รบระหว่างชนกลุ่มน้อยด้วยกันเองทำให้ราษฎรพม่ารวมทั้งครอบครัวของกองกำลังชนกลุ่มน้อย  พากันอพยพเข้ามาอาศัยในเขตประเทศไทยบางกลุ่มเข้ามาอาศัยเป็นการชั่วคราว เมื่อเหตุการณ์สงบก็จะอพยพกลับ บางกลุ่มก็อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นการ ถาวรเป็นจำนวนมาก เพื่อให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม รัฐบาลไทยได้ผ่อนผันให้ บุคคลเหล่านั้นเข้ามาอาศัยในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว จนกระทั้งในปี พ.ศ.2519 

สถานการณ์ในพม่าได้ผ่อนคลายลงจนอยู่ในภาวะปกติ กระทรวงหาดไทยจึงได้มี ประกาศเรื่องห้ามคนต่างด้าวสัญชาติพม่าอพยพหลบหนีภัยเข้ามาในราชอาณาจักร เมื่อ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2519 ตามพื้นที่จังหวัดชายแดนของประเทศไทยด้านติดต่อกับ สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า หากมีผู้เข้ามาให้ถือว่าเป็นการเข้ามาโดยผิด กฎหมาย เข้าหน้าที่จะจับกุมดำเนินคดีตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองโดยเคร่งครัด ทุกรายตามสถิติของทางราชการ ปัจจุบันมีผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่าแยกเป็น ประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ ( สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 2539, 38 )


ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเป็นบุคคลสัญชาติพม่าที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยก่อน 9 มีนาคม พ.ศ.2519  ด้วยเหตุผลทางการเมือง แต่ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นการชั่วคราว ด้วยเหตุผลทางด้านมนุษยธรรม    เมื่อเหตุการณ์สงบเรียบร้อยแล้วให้เดินทางกลับประเทศของตนระหว่างอาศัยอยู่ในประเทศไทย ทางราชการได้จัดทำบัญชีรายชื่อบุคคล ทะเบียนประวัติ และบัตรประจำตัวผู้

พลัดถิ่นสัญชาติพม่าควบคุมไว้ โดยกำหนดเขตที่อยู่ในจังหวัดชายแดนไทย - พม่า ปัจจุบันมี 8 จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี ระนอง และ ประจวบคีรีขันธ์ มีจำนวนประมาณ 27,443 คน สามารถประกอบ อาชีพได้ 27 ประเภท ตาม พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521

ปัญหาชายเเดนพม่า

กองทัพพม่าภายใต้การนำของนายพลเนวิน ได้ทำการปฏิวัติ ล้มล้างรัฐบาล ซึ่งมีนายลูนุเป็นนายกรัฐมนตริ และได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับที่ใช้อยู่ และล้มเลิกระบอบรัฐสภาเสีย โดยการจัดตั้งสภาปฏิวัติ ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 16 นาย โดยมีนายพลเนวิน ได้รับการเลือกจากสภาปฏิวัติให้เป็นประธาน    ซึ่งมีตำแหน่งเทียบเท่าประมุขของรัฐและในการปกครองประเทศนั้น สภาคณะปฏิวัติได้มอบ อำนาจการบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการให้นายพลเนวินแต่เพียงผู้เดียวดำเนินการปก ครองประเทศด้วยระบบอำนาจนิยมภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม และต่อมาใน ปี พ.ศ.2516 สภาปฏิวัติได้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นใช้แทนฉบับเติม 

ซึ่งมีหลักการ สำคัญคือ การกำหนดให้พม่าเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ดำเนินการปก ครองตามระบบสังคมนิยมประชาธิปไตย ( Socialist Democracy )โดยมีสภาเพียงสภา เดียว ดำเนินกิจกรรมทางการเมือง โดยมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวคือ พรรค โครงการสังคมนิยมพม่า ในด้านเศรษฐกิจกำหนดให้ทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งที่ดินตก เป็นสมบัติของแผ่นดิน การประกอบธุรกิจเอกชนรัฐอนุญาตให้ดำเนินการภายใต้ ขอบเขตที่กำหนดนโยบายการบริหารประเทศคือนโยบายเป็นกลางไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ประกาศยกเลิกสัญญาเมืองปางหลวงดำเนินการปิดประเทศ และ ปราบปรามชนกลุ่ม น้อยที่แยกตนเป็นอิสระกลุ่มต่าง ๆ โดยลือว่ากลุ่มต่างๆ เหล่านี้เป็นกบฎ ทำให้กอง กำลังชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่ถึง 16 กลุ่ม อาทิ เช่น กลุ่มกะเหรี่ยง มอญ คะยา กลุ่ม ไทยใหญ่ ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณชายแดนไทย-พม่า รวมถึงราษฎรในพม่าเองซึ่ง ต้องประสบปัญหาภายในของพม่าเอง ทั้งจากปัญหาทางการเมืองและสภาวะเศรษฐกิจ ตกตํ่าเกิดการจลาจลขยายไปทั่วเมืองใหญ่ ๆ ในด้นปี พ.ศ.2531 นายพลเนวิน จึงได้ลา ออกจากผู้นำรัฐบาล หลังจากปกครองประเทศนานถึง 26ปี จนกระทั่งสมัยรัฐบาลพล แอนภายใต้การนำของ ดร.หม่อง หม่อง สถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองก็ ยังไม่ดีขึ้น การจลาจลลุกลามไปทั่วประเทศ คณะทหารนำโดยนายพล ซอหม่อง ได้ทำ รัฐประหารขึ้นปกครองประเทศในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.2531 และได้ดำเนินการปราบ ปรามประชาชนกลุ่มผู้ต่อด้านรัฐบาลอย่างรุนแรง จนเกิดเหตุการณ์นองเลือดครั้งใหญ่ รวมทั้งไม่ยอมถ่ายโอนอำนาจให้แก่รัฐบาลพลเรือนคือพรรค เอ็น แอล (NLD) ของนาง

ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองเนื่องจากไม่มีวีซ่า

ปัจจุบันปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองเนื่องจากไม่มีวีซ่าพม่าได้เป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่ง ชอง ประเทศไทยจำนวนผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็นลำดับ การหลบหนีเข้ามาของชนกลุ่มน้อยบริเวณแนวชายแดนไทย    ที,มีเขตรอยต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน        ซึ่งมีการสู้รบกับชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดการหลบหนีเข้ามาใน
ประเทศไทยอย่างต่อเนื่องทางราชการได้ดำเนินการกวดขันจับกุมดำเนินคดีมาตลอด แต่ ก็ไม่มี แนวโน้มว่าผู้หลบหนีเข้าเมืองไม่มีวีซ่าจะลดน้อยลง การดำเนินการในปัจจุบันนอก จากการลงโทษผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามพระราชบัญญัติ คนเข้า เมือง พ.ศ.2522 แล้วทางราชการยังได้กำหนดนโยบาย และมาตรการปฏิบัติต่อผู้หลบ หนีเข้าเมือง เป็นการเฉพาะตามสภาพปีญหา และความรุนแรงที่เกิดขึ้น ตลอดจนมาตร- การสกัดกั้นและผลักดันต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองดังกล่าว ( จำนง เฉลิมฉัตร 2536, 1 )
ปัจจุบันสภาพผู้หลบหนีเข้าเมืองในประเทศที่สำคัญแยกออกได้ดังนี้
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองจากอินโดจีน ได้แล่ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวลาว ผู้ หลบหนีเข้าเมืองชาวเวียดนาม และผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวกับพูชาโดยไม่มีวีซ่า
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวเนปาล
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวพม่า
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวจีน

จากสถานการณ์ดังกล่าว ประเทศพม่าซึ่งมีพรมแดนติดกับประเทศไทย เป็นระยะทางยาวที่สุด    เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านด้านอื่นของประเทศไทย

( พ.อ.ประสงค์ ชิงชัย 2539, 2 )โดยมีความยาวถึง 2,401 กิโลเมตร โดยอาศัยแม่น้ำเป็น
เส้นเขตแดนประมาณ 714 กิโลเมตร สันเขาและสันปันนํ้า 1,624 กิโลเมตรและ ที่ใช้ เส้นตรงเป็นเขตแคนอีก 63 กิโลเมตร ซึ่งสภาพภูมิประเทศจากจังหวัดเชียงราย จนถึง จังหวัดระนองมีระยะทางยาวมากมีช่องทาง เช้า-ออกตลอดจนพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าเขา ทุรกันดารห่างไกลเส้นทางคมนาคม การตรวจตราของเจ้าหน้าที่ทำไค้จำกัด ประกอบ กับกำลังเจ้าหน้าที่มีอยู่น้อย จึงเป็นการง่ายที่ราษฎรชาวพม่าและ ชนกลุ่มน้อยจะลัก ลอบหลบหนีเข้าเมืองมาอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนมากและลักลอบรับจ้างใช้ แรงงาน หรือแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจมากที่สุด ตลอดจนการรวมกลุ่มเป็นแก๊งค์ หรือกลุ่มอิทธิพลต่าง ๆ อันเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดปัญหาอาชญากรรมปัญหา โสเภณียาเสพติด และอาชญากรรมข้ามชาติระหว่างกลุ่มชนในเชื้อชาติเคียวกัน ซึ่งก่อ ให้เกิดผลกระทบต่อประเทศไทยในค้านต่าง ๆ ซึ่งจะไค้ทำการศึกษาโดยละเอียดต่อไป

สหภาพพม่า (of Myanmar) มีส่วนเกี่ยวพันกับประเทศไทยมายาว นาน ประเทศไทยไค้เคยเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2112 และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 ในช่วงปี พ.ศ.2366 อังกฤษไค้แผ่อิทธิพลเช้ามา ทางอินเดีย และมาลายู รวมทั้งยึด พม่าเป็นอาณานิคมขณะอังกฤษเช้ายึดเมืองต่างๆ นั้น ก็จะทำแผนที่ตามไปด้วยจนทำให้บรรจบเขตแดนของประเทศไทย จึงไค้มีการ กำหนดจุดแนวเขตแดน ( Boundary pillars) เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2411 (ค.ศ.!468) ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2491 หลังจากพม่าไค้รับเอกราชจากอังกฤษ รัฐบาลพม่าไค้ รวมรัฐชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสหภาพพม่า โดยมีสัญญาทำกันที่เมืองปาง หลวง ( เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2490 ) ระบุว่าพม่าและรัฐอิสระต่าง ๆ จะรวมกัน เป็นสหภาพพม่า 10 ปี หลังจากนั้นก็จะให้สิทธิแก่รัฐอิสระต่าง ๆ แยกตัวออกจาก สหภาพพม่าไค้ แต่รัฐบาลพม่าก็ไม่ไค้ดำเนินการตามข้อตกลง แต่ไค้พยายามกลืนชาติ ชนกลุ่มน้อยต่างๆ ให้อยู่ภายใต้อำนาจปกครองของพม่า ยกระดับชาติพม่าแท้ให้มีสิทธิ ต่าง ๆ มากกว่าชนชาติอื่น ๆ ใช้การปกครองแบบเผด็จการกึ่งสังคมนิยม จำกัดสิทธิ ชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดความไม่พอใจเพิ่มมากขึ้น จนไม่สามารถยอมรับการปกครอง


วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์สำหรับมัคคุเทศก์


1. Collection มัคคุเทศก์จะต้องเป็นนักสะสมรวบรวมข้อมูลต่างๆ ทั้งความรู้เชิงวิชาการ และเทคนิคการปฏิบัติงาน

2. Content มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักเก็บรวบรวมเนื้อหาสาระต่างๆ ให้ไต้มากและถูกต้อง

3. Context มัคคุเทศก์จะต้องมีลีลาที่งดงาม ชุภาพและเหมาะสม เช่นรู้จักใช้ต้อยคำและ การแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ

4. Channel   มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักใช้วิธีการลื่อสารที่จะกอให้เกิดประโยชนแก, นักท่องเที่ยว เช่น การนำเที่ยวสถานที่ต่างๆ มัคคุเทศก์อาจให้นักท่องเที่ยวชมกาพยนต์ สไลต์ หรืออ่านเรื่องราวเกี่ยวลับสถานที่นั้นๆ เสียก่อน

5. Communication มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักใช้การลื่อภาษาที่ดี ซึ่งอาจใช้ไต้หลายวิธี เช่น การเขียน การพูด การใช้สัญญาณ เสียง แสง สี การเคลื่อนไหว กิริยาท่าทาง รวม ตลอดถึงเครื่องหมายภาพที่แสดงออกอย่างมีระเบียบและหลักเกณฑ์ที่มนุษย์ในแต่ละ รับรู้และ!ข้าใจนับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญมาก

6. Approach มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักวิธีนำเข้าสู่เรื่อง เริ่มตั้งแต่การแนะนำคัวอย่างชุภาพ และเป็นลันเองลับนักท่องเที่ยว


7. Atmosphere มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักสร้างบรรยากาศความเป็นลันเองลับนักท่องเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความอบอุ่นใจ ท่องเที่ยวด้วยความสุข สนุกสนาน รู้จักใช้ อารมณ์ขันให้เหมาะสม การพูดหรือเล่าเรื่องตลกควรระมัดระวัง เพราะเรื่องตลกของ คนกลุ่มหนึ่งหรือชาติหนึ่ง คนอีกกลุ่มหนึ่งหรืออีกชาติหนึ่งหรืออีกชิดหนึ่งอาจจะไม่ ตลกก็ไต้ ฉะนั้น มัคคุเทศก์จะต้องแน่ใจว่าเรื่องที่จะเล่านั้นเป็นเรื่องตลกของคนกลุ่ม นั้นหรือชาตินั้น เนื่องจากต้นเคยหรือเคยอยู่ลับกลุ่มนั้นหรือชาตินั้นจึงควรจะเล่า แต่แน่ใจก็ควรไม่เล่า

การเป็นมัคคุเทศก์ที่ดีต้องทำอย่างไรบ้าง

เข้ากับสกาวการณ์ไต้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ทำหน้าที่มัคคุเทศก์ เป็นผู้ที่ทำหน้าที่ใกล้ชิด นักท่องเที่ยวตลอดระยะเวลาของการนำเที่ยว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบีคุณลักษณะพิเศษมากยิ่งขึ้น ได้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการท่องเที่ยวทังทางตรงและทางอ้อมหลายท่านไต้เสนอต้อคิดเกี่ยวกับ
มัคคุเทศก์ที่ดีไต้ดังนี้  (คุปผา คุมมานนท์ 2542, น.1)

  • มีบุคลิกลักษณะที่ดี ไม่พิการ บีร่างกายแข็งแรง
  • พูดน้าเสียงชวนพิง และเสียงดังชัดเจน
  • มีความรู้ภาษาต่างประเทศในขั้นใช้การไต้โดยเฉพาะภาษาพูด
  • สนใจในการแสวงหาความรู้ มีความรู้อย่างดีเกี่ยวกับสถานที่นำเที่ยว และความรู้ทั่วไป ในทุกเรื่อง
  • บีวิธีการที่จะอธิบายเรื่องราวต่างๆ ไต้อย่างน่าสนใจและสร้างความเพลิดเพลินให้แก่ นักท่องเที่ยว
  • บีสติอารมณ์มั่นคง สามารถแต้ปัญหาไต้อย่างไม่รู่วามและรอบคอบ
  • บีมารยาทงามและวางตนไต้อย่างเหมาะสม บีความชื่อสัตย์ชุจริตและตรงต่อเวลา
สรุปว่า   คุณลักษณะของมัคคุเทศก์ที่ดีจะช่วยสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยว
นอกเหนือจากจะประทับใจในสถานที่ท่องเที่ยวและทัศนียภาพแต้ว มัคคุเทศก์จะต้องบีคุณลักษณะ สำคัญ 3 ประการ ดังนี้

มัคคุเทศก์ที่ดีต้องบีมนุษย์สัมพันธ์ที่สิต่อนักท่องเที่ยว

หลักมนุษย์สัมพันธ์ประกอบด้วย NURSE & CARE มัคคุเทศก์ที่บีมนุษย์สัมพันธ์ดีต้องบี คุณลักษณะ ดังนี้(NURSE)

Need คือการรู้เรารู้เขา มัคคุเทศก์จะต้องรู้ว่านักท่องเที่ยวเป็นใคร ชาติใด บีลักษณะนิสัย โดยทั่วไปอย่างไร เพื่อปฏิบัติให้เป็นที่ถูกใจนักท่องเที่ยว เช่น นักท่องเที่ยวที่เป็นคนไทย ชอบชื้อของมากกว่าสิ่งอื่น นักท่องเที่ยวที่เป็นชาวเกาหลีชอบรับประทานอาหารประเภท ผัก เป็นต้น

Unity คือสมานฉันท์ มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักอดทนอดกลั้น ยิ้มแต้ม. ไม่นำสิ่งที่ไม่ดีของ นักท่องเที่ยวมากล่าว เช่น ไม่พูดถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 กับนักท่องเที่ยวที่เป็นญี่ปุ่น

Responsibility คือความรับผิดชอบ มัคคุเทศก์จะต้องบีความรู้อย่างดีในเรื่องที่เล่า ตอบ คำถามไต้ แต้ปัญหาไต้ เช่นกรณีนักท่องเที่ยวของหายหรือเกิดอุบัติเหชุ

ให้คำแนะนำแก,นักท่องเที่ยวในการซื้อของ โดยพยายามรักษาผลประโยชน์ของ นักท่องเที่ยวให้มากที่สด มัคคุเทศก์ควรทราบว่าร้านขายสินค้าพื้นเมืองหรือของที่ ระลึกต่างๆ ร้านไหนมีอะไรดีและราคาอุติธรรม เพื่อว่าจะไดไห้คำแนะนำแก, นักท่องเที่ยว

บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์


คำว่า “มัคคุเทศก์” (Guide) แปลได้ว่า ผู้นำทาง หรือ ผู้ชี้ทาง ตรงกับคำในกาษาอังกฤษว่า “Guide” สมัยก่อนมัคคุเทศก์คงจะทำหน้าที่เพียงเท่า'นั้น แต่มัคคุเทศก์ในปัจจุบันมีการะหน้าที่มากกว่า ผู้ทาง เพราะในปัจจุบันมัคคุเทศก์ต้องทำหน้าที่ตั้งแต่พนักงานต้อนรับ อำนวยความสะดวกและความ ปลอดภัยในการเดินทางไม,ว่าจะใกล้หรือไกล ทำหน้าที่ชี้แจงใช้ความเกี่ยวกับบ้านเมือง ทั้งประวัติ ความเป็นมา วิถีชีวิต ความเชื่อถือ สิ่งควรละเว้น ตลอดจนดูแลบำบัดทุกข์บำรุงสุขให้แก่นักท่องเที่ยว ผู้ทำหน้าที่มัคคุเทศก์จึงต้องเป็นคนมีจิตใจกว้างขวาง ชอบให้บริการ ชอบเห็นคนมีความสุข ความ พอใจ จะต้องมีความรู้และความภาคภูมิใจในบ้านเมืองของตน

ในปัจจุบัน อาชีพมัคคุเทศก์มีบทบาทเพิ่มมากขึ้นตามความเจริญก้าวหน้าของธุรกิจการท่องเที่ยว อาชีพมัคคุเทศก์มีการแข่งขันกันมากขึ้น ดังนั้นผู้ที่มีความรู้สูง มีดวามสามารถพิเศษต้าน ภาษาต่างประเทศและไต้ผ่านการอบรมต้านวิชาการมัคคุเทศก์ด้วยแต้วยิ่งจะมีโอกาสในการหางานทำ ไต้มาก ซึ่งจะมีผลต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวคือ ทำให้มีมัคคุเทศก์ที่มีคุณสมบัติและความสามารถ สูง ในขณะเดียวกันผู้ที่ทำหน้าที่มัคคุเทศก์ควรจะตระหนักถึงความสำคัญของตนที่มีต่ออาชีพและ ชื่อเสียงของประเทศชาติ มัคคุเทศก์ควรที่จะไต้เรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาท หน้าที่ คุณลักษณะอันสำคัญของการเป็นมัคคุเทศก์ ตลอดจนมรรยาทและการวางตัวของมัคคุเทศก์ เพื่อจะไต้ ดำรงตนเป็นมัคคุเทศก์ ประสบผลสำเร็จในหน้าที่การงานและการประกอบอาชีพ ที่สำคัญคือ ช่วย ทำชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติและดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศมากยิ่งขึ้น (วรรณา วงษ์วานิช, 2539, น. 42)

ความหมายของการท่องเที่ยว

ความหมายของการท่องเที่ยว


การท่องเที่ยว หมายถึง การที่คนเดินทางไปอังสถานที่ด่างๆ และตลอดเวลาเหล่านั้นไต้มี กิจกรรมด่างๆ เกิดขึ้น การไปเที่ยวชมสถานที่ที่สวยงามหรือทัศนียภาพแปลกๆ หรือเดินชื้อสิ่งของ
ด่างๆ เป็นต้น การท่องเที่ยวมีหลายแบบด้วยกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ระยะเวลาใน การท่องเที่ยว ประเภทของการคมนาดม จำนวนสมาชิก หรือค่าใช่จ่ายต่างๆ เป็นต้น โดยทั่วไปแต้ว อาจจะแบ่งประเภทของการท่องเที่ยวออกไต้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ (วรรฌา วงษ์วานิช, 2539) คือ

การท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นการท่องเที่ยวไปตามสถานที่ด่างๆ กายในประเทศ การ ท่องเที่ยวลักษณะนี้จะต้องมีสิ่งจูงใจหลายอย่าง เช่น ความสวยงามของภูมิประเทศ ความสะดวกสบาย ในการเดินทาง ความปลอดภัย ตลอดจนการโฆษณาหรือมีสิ่งจูงใจโดยเฉพาะของสถานที่นั้น เช่น หลักฐานทางประวัติศาสตร์หรือศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น เป็นต้น

การท่องเที่ยวต่างประเทศ เป็นการท่องเที่ยวไปอังสถานที่ที่ด่างไปจากประเทศของตนและ ต้องผ่านขบวนการระหว่างประเทศหลายอย่าง เช่น ตุลากาล ด่านตรวจคนเข้าเมือง เป็นต้น ใช่ ภาษาด่างประเทศและอาจจะต้องมีมัคคุเทศก์เป็นผูนา การท่องเที่ยวด่างประเทศนี้ ขนาดของประเทศ เป็นสิ่งสำคัญ เช่น ประเทศที่มีขนาดใหญ่มักจะมีสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวมาก เพราะมีโอกาสที่จะมี

สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งอื่นๆ หลายอย่างมากกว่าประเทศขนาดเล็ก แด,บางครั้งที่จะต้อง เดินทางไกลๆ ก็อาจจะเป็นอุปสรรคหรือทำให้นักท่องเที่ยวหมดความสนใจหรือมีความสนใจน้อยลง

สถานภาพอาชีพมัคคุเทศก์ในปัจจุบัน

ความสำคัญต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว

ดังได้กล่าวแล้วว่ามัคคุเทศก์เป็นให้ความ!รวมทั้งคอยตักเดือนนักท่องเที่ยว ประกอบดับ ควรรักษาและหวงแหนทรัพยากรท่องเที่ยวไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ โบราณวัตอุสถาน ศาสนาหรือศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างซึ่งเป็นสิ่งที่ด้องถนอมรักษาไว้ เพราะหากทรัพยากรการท่องเที่ยวเหล่านี้หมดสิ้นไป อุตสาหกรรมท่องเที่ยวรวมถึงมัคคุเทศก์เองก็ย่อมสูญสลายไปด้วย ดังนั้น มัคคุเทศก์จึงมีความสำคัญต่อการดูแลรักษาทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยิ่ง ในการชักชวนให้นักท่องเที่ยวร่วมอสูรรักษ์ไม่ทำลายทรัพยากรการท่องเที่ยวนั้นๆ รวมทั้งไม่กระทำสิ่งที่ผิดกฎหมายหรือ ขัดต่อศีลธรรม

ความสำคัญต่อประเทศชาติ


มัคคุเทศก์มีความสำคัญต่อประเทศชาติในด้านการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศให้แก่ นักท่องเที่ยว ซึ่งจะช่วยให้นักท่องเที่ยวเกิดความประทับใจในประเทศของเราและเดินทางมาเยือนซาหรือช่วยเผยแพร่ภาพลักษณ์ที่ดีนั้นแก่เพื่อนญาติมิตรของเขาให้ทราบต่อไป นอกจากนี้มัคคุเทศก์ยัง สามารถให้ความเข้าใจแก,นักท่องเที่ยวเกี่ยวดับสถาบันต่างๆ ของชาติได้อย่างถูกด้องด้วย

สถานภาพอาชีพมัคคุเทศก์ในปัจจุบัน


อุตสาหกรรมท่องเที่ยวนับว่ามีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยอย่างมาก เนื่องจากสามารถทำรายได้เป็นเงินตราต่างประเทศเป็นอันดับหนึ่ง นับแต่ปี พ.ศ. 2525 เป็นด้นมา ทั้ง ยังสร้างงานสร้างอาชีพกระจายรายได้ไปยังห้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ  ในบรรดาอาชีพต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยตรง เช่น หนักงานโรงแรม พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน บริการในร้านอาหาร ภัตตาคารและบุคลากรในธุรกิจสินค้าที่ระลึก “มัคคุเทศก์” นับเป็นอาชีพหนึ่งที่มี ความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างยิ่ง (ชำนาญ ปวงทิม, 2541, น.6)

ความหมายของการท่องเที่ยว



หม่อมหลวงชุ้ย ชุมสาย (2527 : 4-5) ได้กล่าวถึงความหมายของคำว่า การท่องเที่ยวและการ เดินทางไว้ในหนังสือ “ปฐมบทแห่งการท่องเที่ยว” ว่า การท่องเที่ยวเป็นเรื่องของการเดินทาง ล้าไม,มี การเดินทางก็ไม,มีการท่องเที่ยวและในเรื่องของการท่องเที่ยวคำเนินงานการท่องเที่ยวมักใช้คำว่าการ ท่องเที่ยวและการเดินทางปนกัน บางทีใช้คำว่า การท่องเที่ยว ให้มีดวามหมายถึงทังการท,องเที่ยวและ การเดินทางเช่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Tourism Authority of Thailand

ความสำคัญของมัคคุเทศก์

พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยว

ในปี พ.ศ. 2535     ได้มีการออกพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์เป็นฉบับแรกขึ้น
โดยมีวัตลุประสงค์เพื่อส่งเสริมและควบคุมการประกอบธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ให้เป็นระเบียบได้ มาตรฐานเพื่อประโยชน์ของบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและประโยชน์ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของ ประเทศ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2535 เป็นต้นมา ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ มัคคุเทศก์ พระราชบัญญัติกำหนดให้ผู้ที่เป็นมัคคุเทศก์ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพหรือที่เรียกว่า “บัตรไกด์” ในการขอใบอนุญาตผู้ยื่นขอต้องมีสัญชาติไทยและมีวุฒิบัติแสดงว่าไต้ผ่านการอบรมวิชา มัคคุเทศก์เป็นคุณสมบัติหลัก จึงเป็นผลให้มีการส่งเสริมสถานภาพของมัคคุเทศก์ให้สูงขึ้น กล่าวคือผู้ ที่จะเข้ามาประกอบอาชีพนี้ต้องมีคุณสมบัติเหมาะสมและมีความรู้สูงพอควรเนื่องจากการอบรม

หลักสูตรมัคคุเทศก์ให้ความรู้พื้นฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพนี้มากพอสมควร (ชำนาญ ม่วงทิม, 2542, น.3)

ความสำคัญของมัคคุเทศก์


ลังไต้กล่าวแล้วว่ามัคคุเทศก์เป็นผู้ทำงานใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวมากกว่าบุคคลอื่นในห้องถิ่น จึงมีโอกาสสร้างความประทับใจหรือความไม,พอใจแก,นักท่องเที่ยวไต้โดยง่าย ดังนั้น ความ เจริญก้าวหน้าของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจึงขึ้นอยู่กับบทบาทของมัคคุเทศก์ มัคคุเทศก์จึงมีความสำคัญ ต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวลังนี้ (ชำนาญ ม่วงทิม, 2542, น.4-5)

1. ความสำคัญต่อนักท่องเที่ยว

3.4 นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ย่อมมีความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวนั้นๆ ลังนั้นมัคคุเทศก์จึงต้องมีความรู้และให้ข้อมูลถกต้องแก,นักท่องเที่ยวไต้เป็นอย่างดี

3.5 การเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ต้องการพักผ่อน หาความสนุกสนาน เพลิดเพลิน สิ่งสำคัญสิ่งหนึ่งที่มัคคุเทศก์มีต่อนักท่องเที่ยว คือ การสร้างบรรยากาศการนำเที่ยวให้มี ชีวิตชีวาผ่อนคลายความเพื่อหน่าย เช่น การร้องเพลง เล่าเรื่องสนุก ๆ พึ่งเล่นเกมส์ เป็นต้น

3.6 โดยธรรมชาติของนักท่องเที่ยวมักต้องการความสะดวกสบายระหว่างการเดินทาง ท่องเที่ยว มัคคุเทศก์จึงจำเป็นต้องอำนวยความสะดวกแก,นักท่องเที่ยว รวมตั้งการช่วยเหลือแก้ไข ปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการนำเที่ยวด้วย

สวัสติภาพและความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ก็เป็นสิ่งสำคัญสิ่งหนึ่งที่มัคคุเทศก์ ต้องรับผิดชอบต่อนักท่องเที่ยว ลังนั้นมัคคุเทศก์จะต้องคอยลักเตือนนักท่องเที่ยวในสิ่งที่.ควร

ระมัดระวัง

ความเป็นมาของมัคคุเทศก์

ความรู้และความสนุกสนานก็เพราะมัคคุเทศก์ทุกฝ่ายต่างเอื้อประโยชน์ต่อกันและกัน แต่ผู้'ที่จะสามารถ จรรโลงส่งเสริมสถานภาพเช่นนี้ไจ้ได้ คือ มัคคุเทศก์ผู้ที่จะเข้ามาประกอบอาชีพนี้จึงควรตระหนักใน ภาระความรับผิดชอบในฐานะตัวแทนของคนไทยทั้งชาติและจะต้องมีความภาคถูมิใจที่จะได้เป็นผู้ สร้างสรรค์ความเจริญให้แก,วิชาชีพมัคคุเทศก์ ซึ่งจะส่งผลต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยส่วนรวมด้วย (วิพาภา ช่างเรียน, 2541, น.4)


ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 การเดินทางท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาและขยายโลกทัศน์ให้แก'ตนเอง กลายเป็นความนิยมของบุคคลในสังคมขั้นสูงและนักศึกษาชาวอังกฤษที่สำเร็จขั้นอุดมศึกษาได้ไป ท่องเที่ยวตามแหล่งที่มาของอารยธรรมต่างๆ ก่อนเข้าประจำทำงาน ผู้นำเที่ยวที่เป็นนักศึกษาจึงได้ชื่อ ว่าเป็น “มัคคุเทศก์” แบบผู้นำเที่ยว (Tourist Guide) ไป นอกเหนือจากการเป็นผู้บอกทาง ผู้นำทางแบบ ในสมัยก่อนนั้น

มัคคุเทศก์ในเมืองไทย น่าจะเริ่มมีกันตั้งแต่ครั้งที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยากำแพงเพชร อัครโยธินในตำแหน่งผู้บัญชาการรถไฟ ทรงมีพระดำริเรื่องการท่องเที่ยวทางรถไฟและส่งเสริมเรื่อง การท่องเที่ยวในเมืองไทยไปเผยแพร่ในอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2467 กระทรวงพาณิชย์และคมนาคมเสนอ การบำรุงอุตสาหกรรมท่องเที่ยวขึ้นอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2479 อาชีพมัคคุเทศก์ในประเทศไทยจึง เริ่มแพร่หลายในช่วงปี พ.ศ. 2479-2504 มีชาวต่างประเทศทั้งนักท่องเที่ยว นักธุรกิจและผู้เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก เกิดบริษัทนำเที่ยวขึ้นหลายแห่ง มีการ ว่าจ้างผู้มีความรู้ภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษมาเป็นมัคคุเทศก์ มีนักท่องเที่ยวเดินทางมา ท่องเที่ยวเป็นกลุ่มใหญ่ๆ เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวของไทยมีชื่อเสียงแพร,หลายกจ้างขวางขึ้นและมี ความสะดวกในการเดินทางมากขึ้น   นอกจากนี้การเดินทางท่องเที่ยวยังได้ขยายตัวไปยังกลุ่ม
นักท่องเที่ยวเชื้อชาติต่างๆ ที่ใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษอีกด้วย จึงทำให้เกิดความต้องการ มัคคุเทศก์ภาษาอื่น เพิ่มขึ้น


ในระยะแรกๆ มัคคุเทศก์มักจะเป็นเพียงผู้ที่พูดภาษาต่างประเทศได้เท่านั้น ซึ่งแม้ว่าจะไม,ใช่ผู้ ที่มีความรู้สูง แตกมีจิตใจดี มีความรักหวงแหนในเกียรติถูมิของชาติ ไม่เอาเปรียบหลอกลวง คดโกง นักท่องเที่ยว แต่เมื่อมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนประเทศไทยมากขึ้น ทำให้มีความต้องการ มัคคุเทศก์มากขึ้นตามไปด้วย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) หรือองศ์การส่งเสริมการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อสท.) ในสมัยนั้นจึงได้เริ่มพัฒนาสถานภาพของมัคคุเทศก์ โดยจัดอบรม หสักสูตรมัคคุเทศก์ขึ้นที่คฌะอักษรศาสตร์ จุพาลงกรฌ์มหาวิทยาลัย เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2504

การส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไทย

ใน พ.ศ. 2504 องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อสท.) ได้รับความร่วมมือ อย่างดียิ่งจากชุพาลงกรฌ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยศิลปากร ในการจัดอบรมหลักสูตรมัคคุเทศก์อย่างต่อเนื่องกันถึง 6 ร่น ในระยะเวลาเพียงสองปี ทั้งนี้เพื่อให้มัคคุเทศก์ที่ประกอบอาชีพอยู่แล้วได้มี โอกาสเข้ารับการอบรมอย่างทั่วถึง   หลังจากนั้นก็ได้เพิ่มความถี่ในการจัดอบรม จากปีละหนึ่งใน

สลับกันระหว่างจุฬา และศิลปากร เป็นปีละสองในสาม นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยศิลปากรยังได้จัดการ อบรมในหลักสูตรปริญญาตรี ซึ่งนักศึกษาผู้เลือกเรียนและสอบผ่านจะได้รับประกาศนียบัตรมัคคุเทศก์ พร้อมกับปริญญาบัตรด้วย ต่อมาภาควิชาศิลปาชีพ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ จัดอบรมในหลักสูตรให้นิสิตภาควิชาดังกล่าวพร้อมกันนั้นก็ได้จัดอบรมหลักสูตรวิชาการท่องเที่ยว

มัคคุเทศก์องค์ประกอบสำคัญของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว


การท่องเที่ยวของประเทศไทยเริ่มแพร่หลายเมื่อประมาณ 30 ปีมานี้เอง คือประมาณปี พ.ศ. 2503 อันเป็นปีที่ไห้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวขึ้น เพื่อทำหน้าที่พัฒนาและ ส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ แต่เดิมการท่องเที่ยวของไทยเป็นกิจกรรมของผู้มีฐานะร่ำรวยหรือ ของคนในวงสังคมชั้นสูงเท่านั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นผู้ที่สนพระหัย เกี่ยวกับการท่องเที่ยวพระองค์หนึ่ง การเสด็จพระราชดำเน้นประพาสตามหัวเมืองต่างๆ หรือแม้กระทั่ง การเสด็จพระราชดำเนินไปตามจังหวัดต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันเป็นพระราช กรณียกิจที่จะทำให้ทราบถึงภาวะความเป็นอยู่ของราษฎร (วรรฌา วงษ์วานิV, 2539, น.!3)

เมื่อมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนประเทศไทยมากขึ้น ความตองการมัคคุเทศก์ก็มีมากขึ้น ในปีพ.ศ.2504 พลโทเฉลิมชัย จารวัสตร์ผู้อำนวยการ อสท.ในขณะนั้น ได้มองว่าหากจัดการอบรม หลักสูตรมัคคุเทศก์ขึ้นก็จะเป็นการแนะแนวอาชีพใหม่ไปพร้อมๆ   กับการให้ความรู้'พนฐานในการ

ประกอบอาชีพ ซึ่งก็เท่ากับเป็นการยกมาตรฐานการปฏิบัติงานที่จะส่งผลต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว ของประเทศไทยห้วย จึงไห้ขอความร่วมมือจากศาสตราจารย์ ม.ร.ว. ชุมนชาติ สวัสดิกุล แท่งคณะ อักษรศาสตร์ ชุพาลงกรฌ์มหาวิทยาลัย จัดหลักสูตรอบรมมัคคุเทศก์ขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2504 โดยกำหนดให้ผู้เข้ารับการอบรมเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย ชั้นปีที่ 3 ขึ้นไปหรือบุคคลทั่วไปที่จบชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย การอบรมหลักสูตรมัคคุเทศก์นี้เป็นที่สนใจมีผู้สมัครเข้ารับการอบรมมากเกิน

กว่าที่จะรับไห้หมด ห้องมีการสอบคัดเลือกและห้องจัดติดต่อกันมาเป็นระยะๆ หลายๆ ร่น โดยขยาย สถานที่ให้การอบ่รมจากชุพาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแท่งเดียวมาเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากรห้วย โดยผู้ผ่าน การอบรมในขณะนั้นส่วนใหญ่ภายหลังการอบรมไม่ให้นำความการอบรมไปประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ และผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ส่วนใหญ่ไม่ไห้ให้ความสนใจที่จะเข้ารับการอบรม (วิริยากา ช่างเรียน, 2541, น.3)

ในปี พ.ศ. 2520 ส์านักพระราชวังไห้ออกกฎระเบียบเกี่ยวกับการนำชมพระราชฐาน โดยให้มี การขอบัตรอนุญาต ซึ่งจะห้องใช้ประกาศน้ยบัตรมัคคุเทศก์ที่องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแท่ง

ประเทศไทย (อสท.) และสถาบันระดับอุดมศึกษาผู้จัดอบรมออกให้เป็นหลักฐานในการขอรับบัตร ดังกล่าว ทั่งนี้!พอให้การจัดนำชมและการบรรยายเกี่ยวกับสถานที่สำคัญของคนไทยทั้งชาติแท่งนี้ เป็นไปห้วยความถูกห้องและห้วยความเคารพต่อสถานที่


ความสามรถสำคัญในการเป็นมัคคุเทศก์

ความสามารถด้านการนำเที่ยว  

ความสามารถด้านการนำเที่ยวเป็นหัวใจสำคัญของอาชีพ มัคคุเทศก์ มัคคุเทศก์แม้จะมีความสามารถในการใช้ภาษาและมีความสามารถด้านวิชาการเป็นอย่างดี แต่หากขาดความสามารถด้านการนำเที่ยวก็ไม่อาจประสบความสำเร็จในอาชีพ มัคคุเทศก์ที่มีความสามารถด้านการนำเที่ยวจะทำให้การท่องเที่ยวเป็นไปด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน ประกอบด้วยสาระความและการพักผ่อนอย่างแท้จริง ความสามารถในด้านการนำเที่ยว      ได้แก่
ความสามารถในการจัดเวลา ความสามารถในการวิเคราะห์นักท่องเที่ยว ความสามารถในการสร้าง ความสนใจให้กับนักท่องเที่ยว ความสามารถในการบริการและอำนวยความสะดวก

ความสามารถด้านการแก้ปัญหา 

 มัคคุเทศก์ที่ดีด้องมีความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง โดยคำนึงถึงประโยชน์ของนักท่องเที่ยวเป็นสำคัญ การที่จะสามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี'นั้น มัคคุเทศก์ต้องมีการเตรียมการที่ดี โดยมีสิ่งสำคัญคือความมีสติมั่นคง และความรอบคอบของมัคคุเทศก์
นอกจากนี้อาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพหนึ่งที่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ องค์กรที่ดูแล เรื่องนี้ก็คือฝ่ายจดทะเบียนมัคคุเทศก์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ นี้มีทั้งมัคคุเทศก์ที่ทำงานอิสระ มัคคุเทศก์ที่สังกัดบริษัทนำเที่ยว และมัคคุเทศก์ท้องถิ่นที่ประจำอยู่ตาม แหล่งท่องเที่ยว นอกจากมัคคุเทศก์ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแก้ว ยังมีมัคคุเทศก์ประเภทที่ไม,มี ใบอนุญาตหรือที่เรียกว่า “ไกด์ผี” รวมอยู่ในอาชีพนี้ด้วย จะเห็นได้ว่าในช่วงที่ผ่านมามักมีข่าวทางหน้า หนังสือพิมพ์ ว่ามีกลุ่มบุคคลบางกลุ่มได้แฝงตัวเข้ามาหาผลประโยชน์ในอาชีพนี้แก้วก่ออาชญากรรม หรือผลกระทบกับกลุ่มผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ ทำให้ภาพพจน์ของประเทศในด้านความปลอดภัย ในการเดินทางมาท,องเที่ยวเสียไป อีกทังยังมีผลกระทบต่อจำนวนนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางเข้ามา ท่องเที่ยวในอนาคตอีกด้วย

ตังนั้น สถานภาพของอาชีพมัคคุเทศก์ในปัจจุบันจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่ออุตสาหกรรม ท่องเที่ยวของประเทศในการรักษาให้คฺงอยู่ต่อไป ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและศิลปวัฒนธรรมของชาติ รัฐบาลไทยได้ให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยมีนโยบายหลักของการท่องเที่ยวที่ชัดเจน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทุกฉบับ พร้อมทั้งจัดวางมาตราการและกระบวนการที่ ถูกต้องในการวางแผนดำเนินงาน เพื่อขยายอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้กว้างขวางยิ่งขึ้นไปอย่างไม่

การเตรียมตัวเพื่อรับใบอนุญาติมัคคกุเทศก์

นอกจากนี้อาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพหนึ่งที่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ องค์กรที่ดูแล เรื่องนี้ก็คือฝ่ายจดทะเบียนมัคคุเทศก์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ นี้มีทั้งมัคคุเทศก์ที่ทำงานอิสระ มัคคุเทศก์ที่สังกัดบริษัทนำเที่ยว และมัคคุเทศก์ท้องถิ่นที่ประจำอยู่ตาม แหล่งท่องเที่ยว นอกจากมัคคุเทศก์ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแก้ว ยังมีมัคคุเทศก์ประเภทที่ไม,มี ใบอนุญาตหรือที่เรียกว่า “ไกด์ผี” รวมอยู่ในอาชีพนี้ด้วย จะเห็นได้ว่าในช่วงที่ผ่านมามักมีข่าวทางหน้า หนังสือพิมพ์ ว่ามีกลุ่มบุคคลบางกลุ่มได้แฝงตัวเข้ามาหาผลประโยชน์ในอาชีพนี้แก้วก่ออาชญากรรม หรือผลกระทบกับกลุ่มผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ ทำให้ภาพพจน์ของประเทศในด้านความปลอดภัย ในการเดินทางมาท่องเที่ยวเสียไป อีกทังยังมีผลกระทบต่อจำนวนนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางเข้ามา ท่องเที่ยวในอนาคตอีกด้วย


ตังนั้น สถานภาพของอาชีพมัคคุเทศก์ในปัจจุบันจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่ออุตสาหกรรม ท่องเที่ยวของประเทศในการรักษาให้คฺงอยู่ต่อไป ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและศิลปวัฒนธรรมของชาติ รัฐบาลไทยได้ให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยมีนโยบายหลักของการท่องเที่ยวที่ชัดเจน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทุกฉบับ พร้อมทั้งจัดวางมาตรการและกระบวนการที่ ถูกต้องในการวางแผนดำเนินงาน เพื่อขยายอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้กว้างขวางยิ่งขึ้นไปอย่างไม่

ความสำคัญของอาชีพมัคคุเทศก์ในปัจจุบัน

มัคกุเทศเเละความสำคัญของมัคคุเทศก์

มัคคุเทศก์ เป็นผู้ที่มีความสำคัญในต้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไม่น้อยกว่าบุคลากรประเภท อื่นๆ เนื่องจากเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดนักท่องเที่ยว คอยให้บริการ เป็นดำเนินการและคอยอำนวยความ สะดวกทุกอย่างในระหว่างการท่องเที่ยว รวมทั้งการแล้วปัญหาต่างๆ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความ! ประสบการณ์ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ไม,ว่าจะเป็นเรื่องการเดินทาง อาหารการกิน ดูแลเรื่องที่ พัก ความปลอดภัยและให้ความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของสถานที่ต่างๆ ที่ไปเยี่ยมชม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ตลอดจนคำแนะนำเกี่ยวกับการซื้อของที่ระลึกหรือสินค้าในแต่ละ ท้องถิ่น ซึ่งสิ่งเหล่านี้มัคคุเทศก์จะต้องเป็นผู้ที่รอบ!และมีประสบการณ์ สามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และทันต่อเหตุการณ์ จะเห็นไต้ว่ามัคคุเทศก์จะต้องเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวมาก กรณีที่เป็น นักท่องเที่ยวต่างชาติมัคคุเทศก์เปรียบเสมือนเป็นผู้แทนของคนไทยหรือทุกคนที่สองของประเทศ นักท่องเที่ยวอาจตัดสินประเทศไทยจากภาพลักษณ์ของมัคคุเทศก์ที่ไต้พบและ!จัก อาชีพมัคคุเทศก์จึง เป็นอาชีพที่สำคัญอาชีพหนึ่งและมีผลต่อเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองของประเทศด้วย (เถกิง สวาสดิ พันธ์, 2525, น.258)
โดยเหตุที่ลักษณะงานมัคคุเทศก์ต้องอาศัยความ!ไนต้านต่างๆ อย่างกว้างขวางเป็นพื้นฐาน และความชำนาญในการปฏิบัติเป็นตัวนำไปสู่ความสำเร็จทางอาชีพ มัคคุเทศก์จึงควรมีประสบการณ์ และพื้นฐานทางวิชาชีพที่จำเป็นด้วยกันอยู่หลายประการ (สุนีย์ สินสุเดชะ, 2525,น.272-273) อัน ประกอบด้วย

ความสามารถต้านภาษาอาชีพมัคคุเทศก์เป็นงานที่ต้องใช้ภาษาเป็นหลัก โดยเฉพาะภาษา พูด มัคคุเทศก์จึงต้องมีความสามารถในการใช้ภาษาแม่ของตนและภาษาต่างประเทศอื่นๆ อยู่ในเกณฑ์ดี คือ สามารถที่จะสิ่อสารทำความเข้าใจกับนักท่องเที่ยวไต้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องตามระเบียบการ ใช้ภาษา ความสามารถต้านภาษาจะเป็นคุณสมบัติสำคัญในต้านการพิจารณารับมัคคุเทศก์เข้าทำงาน ของบริษัทนำเที่ยว

ภาวะอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในปัจจุบัน

นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมท่องเที่ยวนับว่ามีบทบาทสำคัญต่อ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเป็นอย่างมากเพราะมีชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาในประเทศไทย
เป็นจำนวนมาก ทั้งในรูปของนักท่องเที่ยว นักธุรกิจและผู้ที่เกี่ยวข้องลับวงการทหาร สิ่งเหล่านี้เป็น การสร้างงาน สร้างอาชีพ กระจายรายไต้ไปยังท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ เนื่องจากมีความสะดวกใน การเดินทางมากขึ้น ทำให้มีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นแล้ว มีบริษัทนำเที่ยวเกิดขึ้นเป็นจำนวน มากและขยายคัวขึ้นตามลำดับ นักท่องเที่ยวมีทั้งที่เดินทางมาด้วยตนเอง หรือไม่เดินทางมาเป็นกลุ่ม ใหญ่ๆ โดยคณะทัวร์ ซึ่งประกอบด้วยคนเชื้อชาติต่างๆ ทังชาวยุโรป อเมริกา อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย และเอเชีย การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมจึงสามารถทำรายไต้เป็นเงินตราต่างประเทศเป็นอันดับหนึ่ง นับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2525เป็นต้นมา ทำให้อาชีพมัคคุเทศก์ไต้รับความสนใจจากรัฐบาลและไต้มีการพัฒนา ให้เจริญเติบโตมากขึ้นในปัจจุบัน (คู่มือมัคคุเทศก์, 2542, น.3)

ในบรรดาอาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องลับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยตรง เช่น พนักงานโรงแรม พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน พนักงานในร้านอาหารบุคลากรในธุรกิจสินค้าที่ระลึกฯลฯ
“มัคคุเทศก์” นับเป็นอาชีพหนึ่งที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างยิ่ง 

ซึ่งในระยะเริ่มแรกที่ มีอาชีพนี้ในประเทศไทยนั้น สถานะภาพของอาชีพมัคคุเทศก์ยังไม,เป็นที่รับรองลัน ผู้ที่เข้ามาอยู่ใน วงการมัคคุเทศก์ไม่จำเป็นต้องมีความรู้สูงก็ไต้ เพียงแต่มีความรู้ภาษาอังกฤษพอพูดไต้ก็สามารถเป็น

มัคคุเทศก์ไต้ จนกระทั้งไต้มีการจัดตังองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแท่งประเทศไทย (อ.ส.ท.) ขึ้นใน ปี พ.ศ. 2502 จึงไต้เริ่มมีการพัฒนาสถานภาพของมัคคุเทศก์ ด้วยการจัดอบรมมัคคุเทศก์ขึ้นที่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2504 และไต้กระทำต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน รวมทั้ง ไต้ขยายการอบรมไปยังสถาบันการศึกษา ทั้งในกรุงเพทมหานครและในส่วนภูมิภาค นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งสมาคมมัคคุเทศก์อาชีพขึ้น เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 

เพื่อเป็นศูนย์กลาง'ให้ มัคคุเทศก์ไต้มาพบปะคัน การที่ไต้จัดตั้งองค์กรนี้ขึ้นก็เพื่อให้มัคคุเทศก์ไต้ตระหนักในภาระ ความรับผิดชอบในฐานะคัวแทนของคนไทยทั้งชาติ จะต้องมีความภาคภูมิใจที่จะไต้เป็น!รู้สร้างสรรค์ความ เจริญให้แก,วิชาชีพมัคคุเทศก์ ซึ๋งจะส่งพลต่ออุตสาหกรรมโดยส่วนรวมด้วย 

วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทยที่มีต่อธุรกิจ

กลุ่มตัวอย่างรับทราบการเปิดเสรีทางการค้าภาคอุตสาหกรรมของประเท-ไทยเกินครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด โดยที่กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย กับการเปิดเสรีทางการค้าภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย รวมถึงรับทราบ ถึงผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรีภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทยที่มีต่อ ธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของศูนย์การศึกษาระหว่างประเทศ 

ที่พบว่า "ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าไม่ควรเปิดให้ต่างชาติเข้ามา คิดเป็นร้อยละ 91.3 โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบการในภูมิภาคส่วนใหญ่เห็นว่าไม่ควรให้ต่างชาติเปิดตลาด ให้บริษัทต่างชาติเข้ามา มีแต่ผู้ประกอบการในกรุงเทพมหานครและภาคกลางเท่านั้น ที่คิดเห็นว่าควรเปิดเสรีทางการค้าให้ต่างชาติเข้ามาแข่งขันไค้ ส่วนเปอร์เซ็นต์ของ ผู้ประกอบการที่เห็นว่าควรเปิดเสรีทางการค้าคิดเป็นร้อยละ 8.7"

2. ผลกระทบจากเปิดเสรีทางการค้าภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย พบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญของปัญหาในการเปิดเสรีทางการค้าภาคอุตสาหกรรมของ ประเทศไทย 3 อันดับแรก (เรียงตามลำดับ) ได้แก่

2.1 ปัญหาจำนวนคู่แข่งขันในตลาดที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัย ของศูนย์เศรษฐกิจระหว่างประเทศ (2540, หน้า 5-12) ที่พบว่า “ศักยภาพของผู้ประกอบ-การไทยโดยรวมไม่สูงนัก มีบริษัทใหญ่เพียงไม่กี่บริษัทอาจจะแข่งขันได้ดีกับต่าง-ประเทศ ที่เหลือส่วนใหญ่มักดำเนินธุรกิจแบบอนุรักษ์นิยมขนาดของธุรกิจนำเที่ยวไทย มีขนาดเล็กใช้ทุนประกอบการน้อย มีการแข่งขันสูง มีขนาดการประกอบการเล็ก และ ส่วนใหญ่บุ่งทำธุรกิจในประเทศโดยไม่มีสาขาในต่างประเทศ”


2.2 ปัญหาการแข่งขันทางด้านราคาที่รุนแรง ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยของ ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนานิติศาสตร์ (ม.ป.ป., หน้า 91) ได้กล่าวไว้ว่า “หาก-จำเป็นด้องเปิดเสรี รัฐบาลน่าจะมีระยะเวลาที่ชัดเจน และมาตรการเสริมเพิ่มให้ธุรกิจนาเที่ยวสามารถแข่งขันได้ และมาตรการในการป้องกันการตัดราคาที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะใน anti-dumping” และงานวิจัยของศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ (2546, หน้า 2) ที่พบว่า "ธุรกิจนำเที่ยว" พบว่า หากมีการเปิดเสรีในธุรกิจนี้อุปสรรค ที่ผู้ประกอบการไทยตองเจอ คือ บริษัทต่างชาติเป็นบริษัทใหญ่ ทำให้มีความได้เปรียบ เรื่องการบริหารจัดการ การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย เงินทุนที่มีมากกว่าผู้ประกอบการ

การท่องเที่ยวเเละการจดทะเบียนของธุรกิจ

การท่องเที่ยว ลักษณะการจดทะเบียนของธุรกิจ ทุนจดทะเบียนของธุรกิจ และระดัน-รายได้ของธุรกิจ มีความพร้อมที่แตกต่างกันอย่างมีนัขสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วน เพศ อายุ ระดับรายได้ต่อเดือน ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดำเนินงานของธุรกิจ และลักษณะของธุรกิจหลัก มีความพร้อมที่ไม่แตกต่างกัน ความพร้อมด้านผลิตภัณฑ์ เป็นอันดับ 7 เมื่อจำแนกตาม ระดับรายได้ต่อเดือน ประสบการณ์การประกอบกิจการ ด้านการท่องเที่ยว ลักษณะการจดทะเบียนของธุรกิจ ทุนจดทะเบียนของธุรกิจ ระยะเวลา การดำเนินงานของธุรกิจ และระดับรายได้ของธุรกิจ มีความพร้อมที่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05ส่วนเพศอายุระดับการศึกษาและลักษณะของธุรกิจ-หลัก มีความพร้อมที่ไม่แตกต่างกัน และความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น อันดับ 8 เมื่อจำแนกตาม ลักษณะการจดทะเบียนของธุรกิจ และระดับรายได้ของธุรกิจ มีความพร้อมที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05ส่วนเพศอายุระดับ รายได้ต่อเดือน ระดับการศึกษา ประสบการณ์การประกอบกิจการด้านการท่องเที่ยว ทุนจดทะเบียนของธุรกิจ ระยะเวลาการดำเนินงานของธุรกิจ และลักษณะของธุรกิจหลัก มีความพร้อมที่ไม่แตกต่างกัน ตามลำดับ โดยภาพรวมของกลุ่มตัวอย่างพบว่าประสิทธิ-ภาพและประสิทธิผลของกลยุทธ์ทางการตลาดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลาง 

3.กลยุทธ์ทางการตลาดที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญ 3 อันดับแรกในแต่ละ กลยุทธ์การตลาดนั้นประกอบไปด้วย

3.1 กลยุทธ์ด้านสินค้าหลัก และบริการเสริม ได้แต่ (1) การจัดโปรแกรม-แพ็กเกจทัวร์(ยานพาหนะ ที่พัก อาหารเช้า) (2) การจัดโปรแกรมกรุ๊ปทัวร์พิเศษตามความต้องการของลูกค้า (3) การจัดโปรแกรมกรุ๊ปทัวร์ขนาดใหญ่ (จำนวนลูกทัวร์ มากกว่า30ท่าน)

3.2 กลยุทธ์ด้านช่องทางจัดจำหน่าย สถานที่จัดจำหน่ายการส่งมอบสินค้า/ บริการ และระยะเวลาที่ให้บริการ ได้แก่ (1) เน้นจำหน่ายสินค้าและบริการที่สำนักงาน-ใหญ่ของบริษัทเท่านั้น (2) เน้นการจำหน่ายสินค้าและบริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (เว็บไซต์ของตนเอง) (3) เน้นการจำหน่ายสินค้าและบริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (เว็บไซต์ของบริษัทคู่ค้า)

3.3 กลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการขวนการให้บริการ การให้บริการลูกค้า (2) ลำดับขั้นตอนการประสานภายในบริษัท (3) ลำดับขันตอน การประสานงานกับบริษัทคู่ค้ารวมถึงซัพพลายเออร์

3.4 กลยุทธ์การค้นคว้า และผลิตสินค้า/บริการและการควบคุมคุณภาพ ได้แก่ (1) เน้นออกแบบสินค้าและบริการให้เป็นของตนเอง (2) การควบคุมและตรวจสอบ คุณภาพของสินค้าและบริการอยู่เสมอ (3) เน้นการปรับปรุงสินค้าและบริการให้มี คุณสมบัติพิเศษนอกเหนือคู่แข่งอยู่เสมอ

3.5 กลยุทธ์ด้านบุคคล ได้แก่ (1) การรับสมัครบุคลากรที่มีคุณวุฒิตรงกับ สายงาน (2) การรับสมัครบุคลากรที่มีประสบการณ์ตรงกับสายงาน (3) การ!]กอบรม บุคลากรของบริษัทอย่างสมํ่าเสมอ

3.6 กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ได้แก่ (1) เน้น การโฆษณาสินค้าและบริการผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต (2) เน้นการโฆษณาสินค้าและบริการ ไปยังลูกค้าเดิมผ่านไปรษณีย์และอีเมล์ (3)เน้นการโฆษณาสินค้าและบริการไปยังลูกค้า- ใหม่ผ่านไปรษณีย์และอีเมล์

3.7 กลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์ของบริษัท ได้แก่ (1) เน้นการสร้างวัฒนธรรม- องค์กรให้มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองและง่ายต่อการจดจำของลูกค้า (2) เน้นการแต่งกาย ของพนักงานในลักษณะของยูนิฟอร์ม (3) เน้นการจัดทำเครื่องใช้ อุปกรณ์ภายในสำนัก- งานให้มีตราสัญลักษณ์เป็นของตนเองและง่ายต่อการจดจำของลูกค้า

กลยุทธ์ด้านราคา ได้แก่ (1) เน้นการกำหนดราคาสินค้าและบริการ มาตรฐานของตนเองให้สูงกว่าคู่แข่งขันและทำการลดลงมาให้ตํ่ากว่าคู่แข่งขัน (2) เน้น การอนุโลมและยกเว้นค่าธรรมเนียมชึ๋งเกิดจากช่องทางการชาระเงินและการขนส่งสินค้า และบริการให้แก่ลูกค้า และ (3) รองรับค่าใช้จ่ายในการเช้าถึงบริษัท และสำนักงานเพื่อ ชื้อสินค้าและบริการของลูกค้า

กลยุทธิ์ด้านการตลาดในการท่องเที่ยว

การท่องเที่ยว ลักษณะการจดทะเบียนของธุรกิจ ทุนจดทะเบียนของธุรกิจ และระดัน-รายได้ของธุรกิจ มีความพร้อมที่แตกต่างกันอย่างมีนัขสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วน เพศ อายุ ระดับรายได้ต่อเดือน ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดำเนินงานของธุรกิจ และลักษณะของธุรกิจหลัก มีความพร้อมที่ไม่แตกต่างกัน ความพร้อมด้านผลิตภัณฑ์ เป็นอันดับ เมื่อจำแนกตาม 

ระดับรายได้ต่อเดือน ประสบการณ์การประกอบกิจการ ด้านการท่องเที่ยว ลักษณะการจดทะเบียนของธุรกิจ ทุนจดทะเบียนของธุรกิจ ระยะเวลา การดำเนินงานของธุรกิจ และระดับรายได้ของธุรกิจ มีความพร้อมที่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05ส่วนเพศอายุระดับการศึกษาและลักษณะของธุรกิจ-หลัก มีความพร้อมที่ไม่แตกต่างกัน และความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น อันดับ เมือจำแนกตาม ลักษณะการจดทะเบียนของธุรกิจ และระดับรายได้ของธุรกิจ มีความพร้อมที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05ส่วนเพศอายุระดับ รายได้ต่อเดือน ระดับการศึกษา ประสบการณ์การประกอบกิจการด้านการท่องเที่ยว ทุนจดทะเบียนของธุรกิจ ระยะเวลาการดำเนินงานของธุรกิจ และลักษณะของธุรกิจหลัก มีความพร้อมที่ไม่แตกต่างกัน ตามลำดับ โดยภาพรวมของกลุ่มตัวอย่างพบว่าประสิทธิ-ภาพและประสิทธิผลของกลยุทธ์ทางการตลาดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลาง 

3.กลยุทธ์ทางการตลาดที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญ อันดับแรกในแต่ละ กลยุทธ์การตลาดนั้นประกอบไปด้วย

3.1 กลยุทธ์ด้านสินค้าหลัก และบริการเสริม ได้แต่ (1) การจัดโปรแกรม-แพ็กเกจทัวร์(ยานพาหนะ ที่พัก อาหารเช้า) (2) การจัดโปรแกรมกรุ๊ปทัวร์พิเศษตามความต้องการของลูกค้า (3) การจัดโปรแกรมกรุ๊ปทัวร์ขนาดใหญ่ (จำนวนลูกทัวร์ มากกว่า30ท่าน)

3.2 กลยุทธ์ด้านช่องทางจัดจำหน่าย สถานที่จัดจำหน่ายการส่งมอบสินค้า/ บริการ และระยะเวลาที่ให้บริการ ได้แก่ (1) เน้นจำหน่ายสินค้าและบริการที่สำนักงาน-ใหญ่ของบริษัทเท่านั้น (2) เน้นการจำหน่ายสินค้าและบริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (เว็บไซต์ของตนเอง) (3) เน้นการจำหน่ายสินค้าและบริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (เว็บไซต์ของบริษัทคู่ค้า)

3.3 กลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการขวนการให้บริการ การให้บริการลูกค้า (2) ลำดับขั้นตอนการประสานภายในบริษัท (3) ลำดับขันตอน การประสานงานกับบริษัทคู่ค้ารวมถึงซัพพลายเออร์

3.4 กลยุทธ์การค้นคว้า และผลิตสินค้า/บริการและการควบคุมคุณภาพ ได้แก่ (1) เน้นออกแบบสินค้าและบริการให้เป็นของตนเอง (2) การควบคุมและตรวจสอบ คุณภาพของสินค้าและบริการอยู่เสมอ (3) เน้นการปรับปรุงสินค้าและบริการให้มี คุณสมบัติพิเศษนอกเหนือคู่แข่งอยู่เสมอ

3.5 กลยุทธ์ด้านบุคคล ได้แก่ (1) การรับสมัครบุคลากรที่มีคุณวุฒิตรงกับ สายงาน (2) การรับสมัครบุคลากรที่มีประสบการณ์ตรงกับสายงาน (3) การ!]กอบรม บุคลากรของบริษัทอย่างสมํ่าเสมอ

3.6 กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ได้แก่ (1) เน้น การโฆษณาสินค้าและบริการผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต (2) เน้นการโฆษณาสินค้าและบริการ ไปยังลูกค้าเดิมผ่านไปรษณีย์และอีเมล์ (3)เน้นการโฆษณาสินค้าและบริการไปยังลูกค้า- ใหม่ผ่านไปรษณีย์และอีเมล์

3.7 กลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์ของบริษัท ได้แก่ (1) เน้นการสร้างวัฒนธรรม- องค์กรให้มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองและง่ายต่อการจดจำของลูกค้า (2) เน้นการแต่งกาย ของพนักงานในลักษณะของยูนิฟอร์ม (3) เน้นการจัดทำเครื่องใช้ อุปกรณ์ภายในสำนัก- งานให้มีตราสัญลักษณ์เป็นของตนเองและง่ายต่อการจดจำของลูกค้า

กลยุทธ์ด้านราคา ได้แก่ (1) เน้นการกำหนดราคาสินค้าและบริการ มาตรฐานของตนเองให้สูงกว่าคู่แข่งขันและทำการลดลงมาให้ตํ่ากว่าคู่แข่งขัน (2) เน้น การอนุโลมและยกเว้นค่าธรรมเนียมชึ๋งเกิดจากช่องทางการชาระเงินและการขนส่งสินค้า และบริการให้แก่ลูกค้า และ (3) รองรับค่าใช้จ่ายในการเช้าถึงบริษัท และสำนักงานเพื่อ ชื้อสินค้าและบริการของลูกค้า

เเนวคิดธุรกิจท่องเที่ยวสมัยใหม่


(แนวคิดทางธุรกิจสมัยใหม่) อยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกตามระดับรายไค้ต่อเดือน และ ระดับการศึกษา มีการรับเผลกระทบที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที 0.05 ส่วน เพศ อายุ และประสบการณ์การประกอบกิจการค้านการท่องเที่ยว มีการรับเผลกระทบ ที่ไม่แตกต่างกัน ค้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี) อยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อจำแนกตามเพศ อายุ ระดับรายไค้ต่อเดือน ระดับการศึกษา และประสบ-การณ์การประกอบกิจการค้านการท่องเที่ยว มีการรับเผลกระทบที่ไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ค้านคู่แข่งในอุตสาหกรรมในระดับนานาชาติ (ดังคู่แข่งขัน รายเดิมและคู่แข่งขันรายใหม่ทั้งจากในประเทศและจากต่างประเทศ) 

อยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกตามระดับรายไค้ต่อเดือนและระดับการศึกษา มีการรับเผลกระทบที่แตกด่างกนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนเพศ อายุ และประสบการณ์การประกอบกิจการ-ค้านการท่องเที่ยว มีการรับเผลกระทบที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และค้านพิบัติภัยทางธรรมชาติ กรณีธรณีพิบัติภัย สึนามิ อยู่ในระดับน้อย เมื่อจำแนกตาม อายุ ระดับรายไค้ต่อเดือน ระดับการศึกษา และประสบการณ์การประกอบกิจการค้าน-การท่องเที่ยว มีการรับเผลกระทบที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วน เพศ มีการรับเผลกระทบที่ไม่แตกต่างกัน

วิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกิจทัวร์ในพม่า


ทัวร์ในพม่าที่มีลักษณะพื้นฐานทางธุรกิจที่แตกต่างกัน มีความพรอม ในการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดที่แตกต่างกัน ต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางปัจจัย ของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ รวมถึงการเปิดเสรีทางการคาภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ของประเทศไทยซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้มีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ที่กระจายตามลักษณะของบริษัทผู้ประกอบธุรกิจทัวร์ในพม่าซึ่งเป็น กลุ่มผู้ประกอบธุรกิจทัวร์ต่างประเทศ ออกเป็น 2 กลุ่มดังนี้ 

(1) บริษัทผู้ประกอบ-ธุรกิจทัวร์ประเภทนำนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเดินทางเช้ามาท่องเที่ยวในประเทศ ซึ่งจะเน้นกลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวต่างประเทศและคนไทยที่นักอาศัยในต่างประเทศ 

(2) บริษัทผู้ประกอบธุรกิจทัวร์ประเภทนำนักท่องเที่ยวจากในประเทศเดินทางออก-ไปท่องเที่ยวในต่างประเทศ ซึ่งจะเน้นกลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวไทยที่พำนักในพม่า และมีความต้องการบริโภคสินค้าท่องเที่ยว/ทรัพยากรการท่องเที่ยวในต่างประเทศ จำนวน 333 กลุ่มตัวอย่าง เครื่อง มือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถามเพื่อสอบถาม ความคิดเห็นและสถานภาพของผู้ประกอบการธุรกิจทั้งสิ้น 4 ส่วน อันได้แก่ ส่วนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 

การศึกษาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเเละกลยุทธิ์


(1) เพื่อศึกษาการ- รับรู้ถึงผลกระทบของผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะ ทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ต่อการเปลี่ยนแปลงทางปัจจัยของสภาพแวดล้อม-ทางธุรกิจ รวมถึงการเปิดเสรีทางการล้าภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย

(2) เพื่อศึกษาความพร้อมในการกำหนดกลยุทธ์ของผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยวในเขต- กรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ต่อการเปลี่ยนแปลง ทางปัจจัยของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ รวมถึงการเปิดเสรีทางการล้าภาคอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวของประเทศไทย

(3) เพื่อศึกษาความพร้อมในการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด ของบริษัทธุรกิจนำเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะพื้นฐานทางธุรกิจที่แตกต่าง­กัน ต่อการเปลี่ยนแปลงทางปัจจัยของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ รวมถึงการเปิดเสรีทาง- การล้าภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย

(4) เพื่อศึกษาการเลือกใช้กลยุทธ์ ทางการตลาดของบริษัทธุรกิจนำเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีการเปิดเสรีทางการ- ล้าภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย

ข้อปฏิบัติในการทำธุรกิจนำเที่ยว


ไกด์ท่องเที่ยว ขอให้ไทยเสนอผูกพันกิจกรรมโดยไม่มีข้อจำกัดใน mode 1,2 และ 3 ส่วนใน mode 4 ขอให้อนุญาตให้คนต่างชาติสามารถซื้อเป็น เจ้าของที่ดินและอาคารได้ ขยายระยะเวลาในการพำนักเริ่มแรกของบุคคลที่เป็น Intra- Corporate Transferee เป็น 3 ปี และต่ออายุได้อีก 1 ปีโดยไม,จำกัดจำนวนครั้ง ยกเลิก ENTs รวมทังขอให้ผูกพันการเข้ามาให้บริการของ Contractual service supplier โดย พำนักได้เป็นเวลา 90 วันหรือตามที่ระบุไว้ในสัญญา เป็นด้น
ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้ไม่มีข้อจำกัด ในเรื่องการเปิดตลาดและการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ ใน mode 1 และ 3

อินเดีย

โรงแรมและภัตตาคาร ขอให้ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องการเปิดตลาด และ การปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ ใน mode 3  ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้ไม,มีข้อจำกัด ในเรื่องการเปิดตลาดและการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ ใน mode 3
นอกจากนี้อินเดียขอให้ไทยยอมรับคุณสมบัติของ Tourism and Travel Related Services Professionals เป็นตน

ออสเตรเลีย

บริการโรงแรมที่พัก บริการด้านภัตตาคาร บริการจัดการด้านอาหาร และเครื่องดื่มนอกสถานที่ ขอให้ยกเลิกข้อจำกัดในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้น 49% ของ ต่างชาติ
ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้ยกเลิกข้อจำกัด ในเรื่องการเปิดตลาด ใน mode

8 ข้อผูกพันของสมาชิก WTO ที่สำคัญในสาขาท่องเที่ยว

บริการท่องเที่ยวเป็นสาขาหนึ่งที่ประเทศพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา ให้ความสนใจและอยู่ในขอบข่ายการเจรจาและยังเป็นสาขาที่มีระตับการเปิดเสรี ที่สูงมากกว่าสาขาบริการอื่น ๆ ในรอบอุรุกวัย โดยมีสมาชิกผูกพันไว้กว่า 120 ประเทศ แต่การเปิดเสรีอย่างเต็มทียังไม่ประสบผลสำเร็จ โดยในแง่ของระดับการเข้าสู่ตลาด (market access) และการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ (national treatment) ปรากฏว่าสมาชิก7.10 ไต้หวันมีระดับการเปิดตลาดตามรูปแบบการให้บริการทังสี่ประเภทแตกต่างกันไปตามแต่ละ ประเภทบริการท่องเที่ยว กล่าวคือ

1.มีจำนวนสมาชิก 49% ที่ไม่มีข้อจำกัด (none) ในการเข้าสู่ตลาด (หรือ
มีการเปิดตลาดอย่างเต็มที่) ใน mode 2 รองลงมาคือ mode 1 (29%) mode 3 (22%) และ mode 4 (1 %)
2.มีจำนวนสมาชิก 52% ที่ไม่มีข้อจำกัด (none) ในการให้การปฏิบัติ เยี่ยงคนชาติใน mode 2 รองลงมาคือ mode 3 (44%) mode 1 (33%) และ mode 4 (11%)
3.ไม่มีประเทศใดเลยที่เปิดการเข้าสู่ตลาดอย่างเต็มที่ในmode 4 ของ บริการไกด์ท่องเที่ยว อาทิ
mode 1 บางประเทศได้กำหนดเงื่อนไขในเรื่องการที่จะต้องเข้ามาจัดตั้ง ธุรกิจจึงจะสามารถให้บริการใน mode นี้ในประเทศนั้นได้ เช่น ออสเตรเลีย แคนาดา กำหนดเงื่อนไขเรื่องนี้ไว้ในธุรกิจสำนักงานตัวแทนท่องเที่ยวและผู้ประกอบธุรกิจนำ- เที่ยว อย่างไรก็ตามสมาชิกมักจะไม่ผูกพันใน mode นี้ไว้เนื่องจากขาดความเป็นไปไต้ ทางเทคนิค (lack of technical feasibility) โดยเฉพาะในเรื่องโรงแรมและภัตตาคาร mode 2 สมาชิกส่วนใหญ่จะเปิดเสรีใน mode นี้ mode 3 มักจะมีการกำหนดเงื่อนไขเรื่องการทดสอบความจำเป็น ทางเศรษฐกิจ (Economic Needs Tests—ENTs) เช่น อิตาลี ได้กำหนดเงื่อนไขเรื่องนี้ สำหรับการเปิดธุรกิจประเภทบาร์ คาเฟ่ และภัตตาคาร ไต้หวันกำหนดเงื่อนไขการมี ถิ่นที่อยู่สำหรับการให้บริการไกด์ท่องเที่ยว แคนาดามีการกำหนดเรื่องใบอนุญาต สำหรับการจำหน่ายสุรา หรือกรีซ สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี โปรตุเกสได้กำหนดเงื่อนไข เรื่องสัญชาติสำหรับมัคคุเทศก์ หรือ สวิตเซอร์แลนด์ แคนาดามีการกำหนดเงื่อนไขเรื่อง การมีถิ่นที่อยู่ (residency) สำหรับการจัดตั้งภัตตาคาร โดยเงื่อนไขเหล่านี้มักจะใช้ สำหรับการออกใบอนุญาต นอกจากนี้ยังมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการถือหุนของต่างชาติ และ การเข้าร่วมทุนกับคนทองถิ่น เป็นต้น
mode 4 สมาชิกส่วนใหญ่จะไม่ผูกพันการเปิดตลาดใน mode นี้ 9. ข้อผูกพันการเปิดตลาดท่องเที่ยวของไทยในอาเซียน

ตลาดบริการสาขาท่องเที่ยว



ประเทศที่ยื่นข้อเรียกร้อง (requests) ให้พม่าเปิดตลาดบริการสาขาท่องเที่ยว พม่าได้รับข้อเรียกร้องจากสมาชิก WTO จำนวน 12 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ป่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย สิงคโปร์จีน ไต้หวัน อินเดีย ปานามา

สหรัฐอเมริกา

ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้พม่าเสนอผูกพัน การเข้าสู่ตลาดโดยไม่มีข้อจำกัด ในต้านการประกอบสำหรับใน mode 1  2 และ 3

ญี่ปุ่น

ไกด์ท่องเที่ยว ขอให้พม่าเสนอผูกพันการเข้าสู่ตลาด การปฏิบัติเยี่ยง คนในชาติ และยกเลิกเงื่อนไขในเรื่องสัญชาติและ Residency ทุก ๆ สาขาย่อยของสาขาท่องเที่ยว ขอให้พม่ายกเลิกข้อจำกัดเกี่ยวกับ สัดส่วนการคือหุ้นของต่างชาติ

เกาหลีใต้

โรงแรมและภัตตาคาร ขอให้พม่ายกเลิกข้อจำกัดในเรื่องสัดส่วนการถือ-หุ้น และการที่จะต้องขออนุญาตประกอบธุรกิจนี้จากคณะกรรมการประกอบธุรกิจ ของคนต่างดาว
ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้ยกเลิกข้อจำกัด เกี่ยวกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทต้องเป็นบุคคลที่มีสัญชาติพม่า และยกเลิกเงื่อนไข ในเรื่องการให้การปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ เฉพาะบริษัทที่มีต่างชาติถือหุ้น 49%

กด์ท่องเที่ยว ขอให้พม่าเสนอผูกพันกิจกรรมนี้

นิวซีแลนด์

โรงแรมและภัตตาคาร ขอให้พม่าขยาย coverage ให้ครอบคลุมทุก กิจกรรมในสาขาย่อยนี โดย mode 1 2 และ 3 ขอให้ไม่มีข้อจำกัดทังในเรื่องการเปิดตลาด และการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ ส่วน mode 4 ขอให้ผูกพัน Individual Service Supplier on a Fee or Contractual Basis มีระยะเวลาพำนัก 1 ปี และขยายเวลาพำนักเริ่มแรกของ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหาร ผู้จัดการ เป็น 3 ปี
ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้ยกเลิกข้อจำกัด เกี่ยวกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทกึ๋งหนึ่งต้องเป็นบุคคลที่มีสัญชาติพม่า

สวิตเซอร์แลนด์

โรงแรมและภัตตาคาร ขอให้พม่าขยาย Coverage ให้ครอบคลุมทุก กิจกรรมในสาขาย่อยนี้โดยขอให้ไม่มีข้อจำกัดทั้งในเรื่องการเปิดตลาดและการปฏิบัติ เยี่ยงคนในชาติ ในทุก mode
ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้ไม่มีข้อจำกัด ในเรื่องการเปิดตลาดใน mode 1 และ 3 และยกเลิกข้อจำกัดในเรื่องการให้การปฏิบัติ เยี่ยงคนในชาติ ใน mode 1 และ 3

สหภาพยุโรป

โรงแรมและภัตตาคาร ขอให้พม่าขยาย Coverage ให้ครอบคลุมทุก กิจกรรมในสาขาย่อยนี้ โดยขอให้ไม่มืข้อจำกัดในเรื่องการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ ใน mode 3 ส่วนใน mode 4 ขอให้อธิบายคำนิยามของคำว่า “ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหาร

ผู้จัดการ” ให้ชัดเจน และยกเลิกเงื่อนไขการใช้ ENTs รวมทังขอให้ผูกพันการเข้ามา ให้บริการของ Contractual Service Supplier
ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว ขอให้ยกเลิกข้อจำกัด เกี่ยวกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทกึ่งหนึ่งต้องเป็นบุคคลที่มีสัญชาติพม่่า ไกด์ท่องเที่ยว ขอให้พม่าเสนอผูกพันกิจกรรมนี้ บริการจัดการด้านโรงแรม ขอให้ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องการให้การปฏิบัติ เยี่ยงคนในชาติ ใน mode 3 ส่วนใน mode 4 ขอให้ยกเลิกข้อจำกัดเช่นเดียวกันกับที่ระบุ ไว้ในเรื่องโรงแรมและภัตตาคาร

สิงคโปร์

บริการโรงแรมที่พัก บริการด้านภัตตาคาร บริการจัดการด้านอาหารและ เครื่องดื่มนอกสถานที่ ธุรกิจท่องเที่ยวและตัวแทนท่องเที่ยว และบริการจัดการด้าน โรงแรม ขอให้ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องการเปิดตลาด และการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ ใน mode 1 และ 3
ไกด์ท่องเที่ยว ขอให้พม่าเสนอผูกพันกิจกรรมโดยไม่มีข้อจำกัดใน mode 1, 2 และ 3 และ ผูกพันใน mode 4 ตามที่พม่าได้ระบุไว้ใน Horizontal section

ปานามา

ท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง ขอให้สมาชิก WTO สร้างความมั่นใจ ในการใช้บางมาตรการ เช่น การซื้อ เช่า หรือใช้ที่ดินจะต้องไม่ส่งผลกระทบต่อผล ประโยชน์ของสมาชิก และสร้างความมั่นใจในการเปิดเสรีอย่างมีประสิทธิภาพใน mode 1 และ 2 รวมทังไม่ใช้เงื่อนไขเรื่อง ENTs เป็นด้น 7.9จีน
ท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง ขอให้ต่างชาติเข้ามาถือหุ้น 100% ได้ และยกเลิกข้อจำกัดเกี่ยวกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทกึ่งหนึ่งต้องเป็นบุคคลที่มี สัญชาติพม่า รวมไม่มีข้อจำกัดในเรื่องการให้การปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติใน mode 3
บริการจัดการด้านโรงแรม ขอให้ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องการให้ การปฏิบัติ เยี่ยงคนในชาติใน mode