วันพุธที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557

ความผิดตาม พรบ.คนเข้าเมืองโดยไม่มีวีซ่า


ความผิดตาม พรบ.คนเข้าเมืองโดยไม่มีวีซ่า พ.ศ.2522 ซึ่งเป็นความผิดเกี่ยวกับการหลบ หนีเข้าเมืองนั้น คนสัญชาติพม่าถูกจับกุมมากที่สุดในปี พ.ศ.2538 จำนวน 15,051 คน คิดเป็นจำนวน 71.55 เปอร์เซ็นต์
การส่งกลับของผู้หลบหนีเข้าเมืองไม่มีวีซ่า เป็นคนสัญชาติพม่ามากที่สุด ซึ่งในปี 2537 จำนวน 41,882 คน ปี 2538 จำนวน 51,095 คน คิดเป็นร้อยละ 82.09 ปัญหาสำคัญของผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า มีพื้นฐานมาจากเศรษฐกิจ ภายในประเทศตกตํ่า ประชนมีรายไค้น้อย ยากจน จึงไค้พากันหลบหนีเข้ามาใน ประเทศไทย เมื่อถูกจับดำเนินคดีและคดีถึงที่สุดแล้ว ส่วนใหญ่ศาลจะพิพากษาปรับ บุคคลเหล่านั้น แต่ไม่สามารถมีเงินเสียค่าปรับไค้ มีแต่ไม่ยอมเสียค่าปรับ จึงต้อง กักขังแทนค่าปรับ ซึ่งรัฐบาลไทยต้องรับภาระเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมากในการเลี้ยงดู ระหว่างรอการส่งกลับ 

ประกอบกับมีบางส่วนของผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่าไม่ทำวีซ่าเป็น ชนกลุ่มน้อย ซึ่งรัฐบาลพม่าเองไม่ยอมรับ เมื่อรัฐบาลไทยส่งตัวกลับชนกลุ่มน้อยดัง กล่าวก็จะถูกฆ่าทิ้งทำร้าย จึงต้องดำเนินการส่งตัวกลับในทางลับ เป็นเหตุให้ผู้ หลบหนีเข้าเมืองดังกล่าวกลับเข้ามาอีก ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ไม่สิ้นสุด

จากการที่ประเทศไทยไค้มีอัตราการพัฒนา และ การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างต่อเมื่องในระดับค่อนข้างสูง ผลจากการพัฒนาทำให้โครงสร้างทาง เศรษฐกิจมีการขยายตัว โครงสร้างการผลิตก็มีการเปลี่ยนแปลงจากการพึ่งพาภาค เกษตรกรรมเป็นหลักไปสู่ภาคอุตสาหกรรม และการบริการ ส่งผลให้เกิดความต้องการ กำลังแรงงานมากขึ้นทั้งในค้านปริมาณและคุณภาพ มีการเคลื่อนย้ายแรงงานไปสู่ภาค การผลิตที่ให้ค่าตอบแทนการทำงานที่สูงกว่า ประกอบกับการที่ประเทศไทยรณรงค์ เกี่ยวกับการคุมกำเนิดซึ่งไค้ผลอย่างมาก และการใช้นโยบายขยายการศึกภาคบังคับ ทำให้ผู้จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาแล้วออกหางา ทำมีจำนวนน้อยลง สภาพดัง กล่าวทำให้จำนวนแรงงานที่เข้าสู่ตลาดแรงงานลดลงอย่างมากโดยเฉพาะแรงงานไรปีมือ ซึ่งทำให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเกษตรกรรมและกิจการ

การพิจารณาสถิติผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยที่ไม่มีวีซ่า



สถานะเช่นเดียวกันกับผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่า คือในระหว่างที่ยังไม่สามารถผลักดันออก ไปได้ ทางราชการไค้มีมาตรการควบคุมบุคคลเหล่านี้คือ

1.มีการกำหนดเขตที่อยู่ให้อยู่เฉพาะในเขตจังหวัดชายแดนค้านพม่า
2.มีการจัดทำบัญชีรายชื่อบุคคลในบ้าน ทะเบียนประวัติ และบัตร
ประจำตัว
3.มีการจัดทำหลักฐานการเกิด การตาย
4.มีการกำหนดโทษผู้หลบหนีออกจากเขตที่อยู่
5.มีการอนุญาตให้ประกอบอาชีพไค้เพียง 27 ประเภท ตามพระ ราชบัญญัติการทำงานของคนต่างค้าว พ.ศ.2521
6.บุตรที่เกิดในราชอาณาจักรไทยไม่ไค้สัญชาติไทย

ต่อมารัฐบาลไค้พิจารณาให้ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยที่ไม่มีวีซ่า ได้รับการพิจารณาให้สัญชาติไทยเมื่อ 29 กันยายน พ.ศ.2532 ซึ๋งกระทรวงมหาดไทยไค้ดำเนิน การแปลงสัญชาติผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทยของจังหวัดระนองและตากให้ไค้ สัญชาติไทยแล้ว บีจจุบันมี 813 คนในปี พ.ศ. 2537 - 2538 การปราบปรามผู้ทำผิดสัญชาติพม่าตามพระราช บัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 และกฎหมายอื่น ๆ ของประเทศไทย พบว่าสถิติไค้สูงชื้น ดังนี้ ( สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง 2538,120-107 )

ผู้หลบหนีเข้าเมืองจากพม่า



จากการที่รัฐบาลพม่ามีนโยบายในการปราบปรามผู้ที่มีความคิดเห็นไม่ตรง กับรัฐบาลและดำเนินมาตรการปราบปรามชนกลุ่มน้อยอย่างรุนแรง ประกอบกับการผู้ รบระหว่างชนกลุ่มน้อยด้วยกันเองทำให้ราษฎรพม่ารวมทั้งครอบครัวของกองกำลังชนกลุ่มน้อย  พากันอพยพเข้ามาอาศัยในเขตประเทศไทยบางกลุ่มเข้ามาอาศัยเป็นการชั่วคราว เมื่อเหตุการณ์สงบก็จะอพยพกลับ บางกลุ่มก็อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นการ ถาวรเป็นจำนวนมาก เพื่อให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม รัฐบาลไทยได้ผ่อนผันให้ บุคคลเหล่านั้นเข้ามาอาศัยในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว จนกระทั้งในปี พ.ศ.2519 

สถานการณ์ในพม่าได้ผ่อนคลายลงจนอยู่ในภาวะปกติ กระทรวงหาดไทยจึงได้มี ประกาศเรื่องห้ามคนต่างด้าวสัญชาติพม่าอพยพหลบหนีภัยเข้ามาในราชอาณาจักร เมื่อ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2519 ตามพื้นที่จังหวัดชายแดนของประเทศไทยด้านติดต่อกับ สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า หากมีผู้เข้ามาให้ถือว่าเป็นการเข้ามาโดยผิด กฎหมาย เข้าหน้าที่จะจับกุมดำเนินคดีตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองโดยเคร่งครัด ทุกรายตามสถิติของทางราชการ ปัจจุบันมีผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่าแยกเป็น ประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ ( สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 2539, 38 )


ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเป็นบุคคลสัญชาติพม่าที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยก่อน 9 มีนาคม พ.ศ.2519  ด้วยเหตุผลทางการเมือง แต่ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นการชั่วคราว ด้วยเหตุผลทางด้านมนุษยธรรม    เมื่อเหตุการณ์สงบเรียบร้อยแล้วให้เดินทางกลับประเทศของตนระหว่างอาศัยอยู่ในประเทศไทย ทางราชการได้จัดทำบัญชีรายชื่อบุคคล ทะเบียนประวัติ และบัตรประจำตัวผู้

พลัดถิ่นสัญชาติพม่าควบคุมไว้ โดยกำหนดเขตที่อยู่ในจังหวัดชายแดนไทย - พม่า ปัจจุบันมี 8 จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี ระนอง และ ประจวบคีรีขันธ์ มีจำนวนประมาณ 27,443 คน สามารถประกอบ อาชีพได้ 27 ประเภท ตาม พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521

ปัญหาชายเเดนพม่า

กองทัพพม่าภายใต้การนำของนายพลเนวิน ได้ทำการปฏิวัติ ล้มล้างรัฐบาล ซึ่งมีนายลูนุเป็นนายกรัฐมนตริ และได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับที่ใช้อยู่ และล้มเลิกระบอบรัฐสภาเสีย โดยการจัดตั้งสภาปฏิวัติ ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 16 นาย โดยมีนายพลเนวิน ได้รับการเลือกจากสภาปฏิวัติให้เป็นประธาน    ซึ่งมีตำแหน่งเทียบเท่าประมุขของรัฐและในการปกครองประเทศนั้น สภาคณะปฏิวัติได้มอบ อำนาจการบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการให้นายพลเนวินแต่เพียงผู้เดียวดำเนินการปก ครองประเทศด้วยระบบอำนาจนิยมภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม และต่อมาใน ปี พ.ศ.2516 สภาปฏิวัติได้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นใช้แทนฉบับเติม 

ซึ่งมีหลักการ สำคัญคือ การกำหนดให้พม่าเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ดำเนินการปก ครองตามระบบสังคมนิยมประชาธิปไตย ( Socialist Democracy )โดยมีสภาเพียงสภา เดียว ดำเนินกิจกรรมทางการเมือง โดยมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวคือ พรรค โครงการสังคมนิยมพม่า ในด้านเศรษฐกิจกำหนดให้ทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งที่ดินตก เป็นสมบัติของแผ่นดิน การประกอบธุรกิจเอกชนรัฐอนุญาตให้ดำเนินการภายใต้ ขอบเขตที่กำหนดนโยบายการบริหารประเทศคือนโยบายเป็นกลางไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ประกาศยกเลิกสัญญาเมืองปางหลวงดำเนินการปิดประเทศ และ ปราบปรามชนกลุ่ม น้อยที่แยกตนเป็นอิสระกลุ่มต่าง ๆ โดยลือว่ากลุ่มต่างๆ เหล่านี้เป็นกบฎ ทำให้กอง กำลังชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่ถึง 16 กลุ่ม อาทิ เช่น กลุ่มกะเหรี่ยง มอญ คะยา กลุ่ม ไทยใหญ่ ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณชายแดนไทย-พม่า รวมถึงราษฎรในพม่าเองซึ่ง ต้องประสบปัญหาภายในของพม่าเอง ทั้งจากปัญหาทางการเมืองและสภาวะเศรษฐกิจ ตกตํ่าเกิดการจลาจลขยายไปทั่วเมืองใหญ่ ๆ ในด้นปี พ.ศ.2531 นายพลเนวิน จึงได้ลา ออกจากผู้นำรัฐบาล หลังจากปกครองประเทศนานถึง 26ปี จนกระทั่งสมัยรัฐบาลพล แอนภายใต้การนำของ ดร.หม่อง หม่อง สถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองก็ ยังไม่ดีขึ้น การจลาจลลุกลามไปทั่วประเทศ คณะทหารนำโดยนายพล ซอหม่อง ได้ทำ รัฐประหารขึ้นปกครองประเทศในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.2531 และได้ดำเนินการปราบ ปรามประชาชนกลุ่มผู้ต่อด้านรัฐบาลอย่างรุนแรง จนเกิดเหตุการณ์นองเลือดครั้งใหญ่ รวมทั้งไม่ยอมถ่ายโอนอำนาจให้แก่รัฐบาลพลเรือนคือพรรค เอ็น แอล (NLD) ของนาง

ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองเนื่องจากไม่มีวีซ่า

ปัจจุบันปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองเนื่องจากไม่มีวีซ่าพม่าได้เป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่ง ชอง ประเทศไทยจำนวนผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็นลำดับ การหลบหนีเข้ามาของชนกลุ่มน้อยบริเวณแนวชายแดนไทย    ที,มีเขตรอยต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน        ซึ่งมีการสู้รบกับชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดการหลบหนีเข้ามาใน
ประเทศไทยอย่างต่อเนื่องทางราชการได้ดำเนินการกวดขันจับกุมดำเนินคดีมาตลอด แต่ ก็ไม่มี แนวโน้มว่าผู้หลบหนีเข้าเมืองไม่มีวีซ่าจะลดน้อยลง การดำเนินการในปัจจุบันนอก จากการลงโทษผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามพระราชบัญญัติ คนเข้า เมือง พ.ศ.2522 แล้วทางราชการยังได้กำหนดนโยบาย และมาตรการปฏิบัติต่อผู้หลบ หนีเข้าเมือง เป็นการเฉพาะตามสภาพปีญหา และความรุนแรงที่เกิดขึ้น ตลอดจนมาตร- การสกัดกั้นและผลักดันต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองดังกล่าว ( จำนง เฉลิมฉัตร 2536, 1 )
ปัจจุบันสภาพผู้หลบหนีเข้าเมืองในประเทศที่สำคัญแยกออกได้ดังนี้
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองจากอินโดจีน ได้แล่ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวลาว ผู้ หลบหนีเข้าเมืองชาวเวียดนาม และผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวกับพูชาโดยไม่มีวีซ่า
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวเนปาล
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวพม่า
  • ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวจีน

จากสถานการณ์ดังกล่าว ประเทศพม่าซึ่งมีพรมแดนติดกับประเทศไทย เป็นระยะทางยาวที่สุด    เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านด้านอื่นของประเทศไทย

( พ.อ.ประสงค์ ชิงชัย 2539, 2 )โดยมีความยาวถึง 2,401 กิโลเมตร โดยอาศัยแม่น้ำเป็น
เส้นเขตแดนประมาณ 714 กิโลเมตร สันเขาและสันปันนํ้า 1,624 กิโลเมตรและ ที่ใช้ เส้นตรงเป็นเขตแคนอีก 63 กิโลเมตร ซึ่งสภาพภูมิประเทศจากจังหวัดเชียงราย จนถึง จังหวัดระนองมีระยะทางยาวมากมีช่องทาง เช้า-ออกตลอดจนพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าเขา ทุรกันดารห่างไกลเส้นทางคมนาคม การตรวจตราของเจ้าหน้าที่ทำไค้จำกัด ประกอบ กับกำลังเจ้าหน้าที่มีอยู่น้อย จึงเป็นการง่ายที่ราษฎรชาวพม่าและ ชนกลุ่มน้อยจะลัก ลอบหลบหนีเข้าเมืองมาอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนมากและลักลอบรับจ้างใช้ แรงงาน หรือแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจมากที่สุด ตลอดจนการรวมกลุ่มเป็นแก๊งค์ หรือกลุ่มอิทธิพลต่าง ๆ อันเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดปัญหาอาชญากรรมปัญหา โสเภณียาเสพติด และอาชญากรรมข้ามชาติระหว่างกลุ่มชนในเชื้อชาติเคียวกัน ซึ่งก่อ ให้เกิดผลกระทบต่อประเทศไทยในค้านต่าง ๆ ซึ่งจะไค้ทำการศึกษาโดยละเอียดต่อไป

สหภาพพม่า (of Myanmar) มีส่วนเกี่ยวพันกับประเทศไทยมายาว นาน ประเทศไทยไค้เคยเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2112 และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 ในช่วงปี พ.ศ.2366 อังกฤษไค้แผ่อิทธิพลเช้ามา ทางอินเดีย และมาลายู รวมทั้งยึด พม่าเป็นอาณานิคมขณะอังกฤษเช้ายึดเมืองต่างๆ นั้น ก็จะทำแผนที่ตามไปด้วยจนทำให้บรรจบเขตแดนของประเทศไทย จึงไค้มีการ กำหนดจุดแนวเขตแดน ( Boundary pillars) เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2411 (ค.ศ.!468) ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2491 หลังจากพม่าไค้รับเอกราชจากอังกฤษ รัฐบาลพม่าไค้ รวมรัฐชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสหภาพพม่า โดยมีสัญญาทำกันที่เมืองปาง หลวง ( เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2490 ) ระบุว่าพม่าและรัฐอิสระต่าง ๆ จะรวมกัน เป็นสหภาพพม่า 10 ปี หลังจากนั้นก็จะให้สิทธิแก่รัฐอิสระต่าง ๆ แยกตัวออกจาก สหภาพพม่าไค้ แต่รัฐบาลพม่าก็ไม่ไค้ดำเนินการตามข้อตกลง แต่ไค้พยายามกลืนชาติ ชนกลุ่มน้อยต่างๆ ให้อยู่ภายใต้อำนาจปกครองของพม่า ยกระดับชาติพม่าแท้ให้มีสิทธิ ต่าง ๆ มากกว่าชนชาติอื่น ๆ ใช้การปกครองแบบเผด็จการกึ่งสังคมนิยม จำกัดสิทธิ ชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดความไม่พอใจเพิ่มมากขึ้น จนไม่สามารถยอมรับการปกครอง


วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์สำหรับมัคคุเทศก์


1. Collection มัคคุเทศก์จะต้องเป็นนักสะสมรวบรวมข้อมูลต่างๆ ทั้งความรู้เชิงวิชาการ และเทคนิคการปฏิบัติงาน

2. Content มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักเก็บรวบรวมเนื้อหาสาระต่างๆ ให้ไต้มากและถูกต้อง

3. Context มัคคุเทศก์จะต้องมีลีลาที่งดงาม ชุภาพและเหมาะสม เช่นรู้จักใช้ต้อยคำและ การแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ

4. Channel   มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักใช้วิธีการลื่อสารที่จะกอให้เกิดประโยชนแก, นักท่องเที่ยว เช่น การนำเที่ยวสถานที่ต่างๆ มัคคุเทศก์อาจให้นักท่องเที่ยวชมกาพยนต์ สไลต์ หรืออ่านเรื่องราวเกี่ยวลับสถานที่นั้นๆ เสียก่อน

5. Communication มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักใช้การลื่อภาษาที่ดี ซึ่งอาจใช้ไต้หลายวิธี เช่น การเขียน การพูด การใช้สัญญาณ เสียง แสง สี การเคลื่อนไหว กิริยาท่าทาง รวม ตลอดถึงเครื่องหมายภาพที่แสดงออกอย่างมีระเบียบและหลักเกณฑ์ที่มนุษย์ในแต่ละ รับรู้และ!ข้าใจนับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญมาก

6. Approach มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักวิธีนำเข้าสู่เรื่อง เริ่มตั้งแต่การแนะนำคัวอย่างชุภาพ และเป็นลันเองลับนักท่องเที่ยว


7. Atmosphere มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักสร้างบรรยากาศความเป็นลันเองลับนักท่องเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความอบอุ่นใจ ท่องเที่ยวด้วยความสุข สนุกสนาน รู้จักใช้ อารมณ์ขันให้เหมาะสม การพูดหรือเล่าเรื่องตลกควรระมัดระวัง เพราะเรื่องตลกของ คนกลุ่มหนึ่งหรือชาติหนึ่ง คนอีกกลุ่มหนึ่งหรืออีกชาติหนึ่งหรืออีกชิดหนึ่งอาจจะไม่ ตลกก็ไต้ ฉะนั้น มัคคุเทศก์จะต้องแน่ใจว่าเรื่องที่จะเล่านั้นเป็นเรื่องตลกของคนกลุ่ม นั้นหรือชาตินั้น เนื่องจากต้นเคยหรือเคยอยู่ลับกลุ่มนั้นหรือชาตินั้นจึงควรจะเล่า แต่แน่ใจก็ควรไม่เล่า

การเป็นมัคคุเทศก์ที่ดีต้องทำอย่างไรบ้าง

เข้ากับสกาวการณ์ไต้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ทำหน้าที่มัคคุเทศก์ เป็นผู้ที่ทำหน้าที่ใกล้ชิด นักท่องเที่ยวตลอดระยะเวลาของการนำเที่ยว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบีคุณลักษณะพิเศษมากยิ่งขึ้น ได้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการท่องเที่ยวทังทางตรงและทางอ้อมหลายท่านไต้เสนอต้อคิดเกี่ยวกับ
มัคคุเทศก์ที่ดีไต้ดังนี้  (คุปผา คุมมานนท์ 2542, น.1)

  • มีบุคลิกลักษณะที่ดี ไม่พิการ บีร่างกายแข็งแรง
  • พูดน้าเสียงชวนพิง และเสียงดังชัดเจน
  • มีความรู้ภาษาต่างประเทศในขั้นใช้การไต้โดยเฉพาะภาษาพูด
  • สนใจในการแสวงหาความรู้ มีความรู้อย่างดีเกี่ยวกับสถานที่นำเที่ยว และความรู้ทั่วไป ในทุกเรื่อง
  • บีวิธีการที่จะอธิบายเรื่องราวต่างๆ ไต้อย่างน่าสนใจและสร้างความเพลิดเพลินให้แก่ นักท่องเที่ยว
  • บีสติอารมณ์มั่นคง สามารถแต้ปัญหาไต้อย่างไม่รู่วามและรอบคอบ
  • บีมารยาทงามและวางตนไต้อย่างเหมาะสม บีความชื่อสัตย์ชุจริตและตรงต่อเวลา
สรุปว่า   คุณลักษณะของมัคคุเทศก์ที่ดีจะช่วยสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยว
นอกเหนือจากจะประทับใจในสถานที่ท่องเที่ยวและทัศนียภาพแต้ว มัคคุเทศก์จะต้องบีคุณลักษณะ สำคัญ 3 ประการ ดังนี้

มัคคุเทศก์ที่ดีต้องบีมนุษย์สัมพันธ์ที่สิต่อนักท่องเที่ยว

หลักมนุษย์สัมพันธ์ประกอบด้วย NURSE & CARE มัคคุเทศก์ที่บีมนุษย์สัมพันธ์ดีต้องบี คุณลักษณะ ดังนี้(NURSE)

Need คือการรู้เรารู้เขา มัคคุเทศก์จะต้องรู้ว่านักท่องเที่ยวเป็นใคร ชาติใด บีลักษณะนิสัย โดยทั่วไปอย่างไร เพื่อปฏิบัติให้เป็นที่ถูกใจนักท่องเที่ยว เช่น นักท่องเที่ยวที่เป็นคนไทย ชอบชื้อของมากกว่าสิ่งอื่น นักท่องเที่ยวที่เป็นชาวเกาหลีชอบรับประทานอาหารประเภท ผัก เป็นต้น

Unity คือสมานฉันท์ มัคคุเทศก์จะต้องรู้จักอดทนอดกลั้น ยิ้มแต้ม. ไม่นำสิ่งที่ไม่ดีของ นักท่องเที่ยวมากล่าว เช่น ไม่พูดถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 กับนักท่องเที่ยวที่เป็นญี่ปุ่น

Responsibility คือความรับผิดชอบ มัคคุเทศก์จะต้องบีความรู้อย่างดีในเรื่องที่เล่า ตอบ คำถามไต้ แต้ปัญหาไต้ เช่นกรณีนักท่องเที่ยวของหายหรือเกิดอุบัติเหชุ

ให้คำแนะนำแก,นักท่องเที่ยวในการซื้อของ โดยพยายามรักษาผลประโยชน์ของ นักท่องเที่ยวให้มากที่สด มัคคุเทศก์ควรทราบว่าร้านขายสินค้าพื้นเมืองหรือของที่ ระลึกต่างๆ ร้านไหนมีอะไรดีและราคาอุติธรรม เพื่อว่าจะไดไห้คำแนะนำแก, นักท่องเที่ยว